Page 17 - Electric Subject
P. 17

ค้อนเคาะรัดให้สวยงาม หัวเข็มขัดรัดสายไม่อยู่กลางสาย หัวเข็มขัดรัดสายอยู่กลางสาย หัวเข็มขัดรัดสายไม่

                      อยู่กลางสาย


                                            ภาพที่ 3.21 การตอกเข็มขัดรัดสายและการรัดสาย

                      (ที่มา :ธํารงศักดิ์ หมินก้าหรีม, สมพงศ์ รัชดาธิกุล การติดตั้งไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน.   .  กรุงเทพฯ  :ก.
                      วิวรรธน์, 2546 : หน้า 84)



                                         ภาพที่ 3.22 การเดินเข็มขัดรัดสายเมื่อมีสายโค้งหลายๆเส้น
                      (ที่มา :ธํารงศักดิ์ หมินก้าหรีม, สมพงศ์ รัชดาธิกุล .การติดตั้งไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ  :ก.

                      วิวรรธน์, 2546 : หน้า 84)


                             3.5.3 วิธีการต่อสายไฟฟ้า

                             1)การต่อสายแบบต่อตรง เป็นการต่อสายแข็ง ใช้กับสายเดี่ยวชนิดพันเกลียวและต่อ สายคู่ ซึ่งการ

                      ต่อแบบนี้จะรับแรงดึงได้มาก ต้องใช้คีมช่วยในการบิดสายให้แน่น เช่น สายเดี่ยว THW , สายคู่ VAF ถ้าเป็น
                      สายคู่ พีวีซี VAF จุดที่ต่อสายจะต้องเยื้องกันเพื่อป้องกันการลัดวงจรไม่ให้เกิดง่ายขึ้น เมื่อนําไปใช้งาน



                                       ภาพที่ 3.23 การต่อสายแบบต่อตรงสําหรับสายแข็งเดี่ยว )THW)
                      (ที่มา สกายบุ๊กส์     :  กรุงเทพฯ . ไฟฟ้าอุตสาหกรรม  . สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้านครเหนือ  :, 2544 : หน้า

                      102)


                             2) การต่อสายแบบหางเปีย เป็นการต่อสายที่นิยมใช้บ่อยมาก จะใช้ต่อสายทั้งสายอ่อน หรือสาย

                      แข็ง การต่อสายในแผงสวิตช์ หรือใต้แป้นยึดอุปกรณ์ การต่อทําได้โดยวางปลายสายที่ปอก ฉนวนแล้วเข้า

                      ด้วยกันแล้วบิดให้เป็นเกลียวด้วยคีม หรือด้วยมือก็ได้ถ้าสายไม่แข็งมากนัก แล้วตัดปลายสาย ให้เรียบร้อย


                                                  รูปที่ 3.24 การต่อสายแบบหางเปีย

                      (ที่มา สกาย     :  กรุงเทพฯ . ไฟฟ้าอุตสาหกรรม  . สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้านครเหนือ  :บุ๊กส์, 2544 : หน้า
                      102)



                             3)การต่อสายแบบแยก เป็นการแบบตัวที ใช้ได้ทั้งสายแข็งเดี่ยว และสายตีเกลียว ถ้า เป็นสายแข็ง
                      จะต่อแยกแบบบิดให้เป็นเกลียวรอบสายหลัก 8-10 รอบ ถ้าเป็นการต่อสายแบบตีเกลียว ใช้กับ สายแข็งที่มี

                      แกนหลายเส้น การบิดจะบิดไปทางซ้ายและขวา ตามความเหมาะสม ซึ่งจะทนต่อแรงดึงได้


                                           รูปที่ 3.25 การต่อสายแยกแบบตัวที สําหรับสายแข็ง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20