Page 12 - รวมทุกบท
P. 12
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นแนวทำงในกำรจัดท ำโครงกำรครั้งนี้คณะผู้จัดท ำได้ศึกษำเอกสำรและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ต่ำงๆ ดังนี้
2.1 อนิเมชั่น (Animation)
อนิเมชั่น (Animation) หมำยถึง กระบวนกำรที่เฟรมแต่ละเฟรมของภำพยนตร์ ถูกผลิตขึ้น
ต่ำงหำกจำก กันทีละเฟรม แล้วน ำมำร้อยเรียงเข้ำด้วยกัน โดยกำรฉำยต่อเนื่องกัน ไม่ว่ำจำกวิธีกำร ใช้
คอมพิวเตอร์กรำฟิก ถ่ำยภำพรูปวำด หรือ หรือรูปถ่ำยแต่ละขณะของหุ่นจ ำลองที่ค่อย ๆ ขยับเมื่อน ำภำพ
ดังกล่ำวมำฉำย ด้วยควำมเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินำที ขึ้นไป เรำจะเห็นเหมือนว่ำภำพดังกล่ำวเคลื่อนไหว
ได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจำก กำรเห็นภำพติดตำในทำง คอมพิวเตอร์ กำรจัดเก็บภำพแบบ อนิเมชั่นที่ใช้
กันอย่ำงแพร่หลำยในอินเทอร์เน็ต ได้แก่เก็บในรูปแบบ GIF MNG SVG และ แฟลช
2.1.1 ประเภทของอนิเมชั่น
2.1.1.1 กำรสร้ำงอนิเมชั่นแบบดั้งเดิม เป็นกระบวนกำรที่ใช้ส ำหรับกำรสร้ำง
ภำพเคลื่อนไหวภำพยนตร์มำกที่สุด เป็นกำรสร้ำงชิ้นงำนแอนิเมชั่นด้วยภำพวำดซึ่งจะมีกำรวำดภำพลงบน
กระดำษก่อน เพื่อสร้ำงภำพลวงตำของกำรเคลื่อนไหว แต่ละรูปวำดจะแตกต่ำงกันเล็กน้อย หลำยพันภำพ
และฉำยภำพเหล่ำนั้นผ่ำนกล้องบันทึกภำพ หรือกล้องวิดีโอ กำรท ำแอนิเมชั่นต้องอำศัยควำมสำมำรถทำง
ศิลปะในกำรวำดภำพอย่ำงมำก จึงท ำให้ต้องใช้เวลำในกำรผลิตนำนและต้นทุนในกำรผลิตจึงสูงตำมไปด้วย
2.1.1.2 กำรสร้ำงอนิเมชั่นแบบสตอปโมชั่น เป็นกำรสร้ำงหุ่นจ ำลองขึ้นมำหรือใช้สิ่งของแล้ว
ค่อยๆ ขยับ พร้อมกับถ่ำยภำพนั้นที่ละภำพ ที่พบมำกได้แก่ ภำพเคลื่อนไหวแบบหุ่นเชิด ภำพเคลื่อนไหว
ดินน้ ำมัน ซึ่งวัสดุที่นิยมใช้มักจะเป็นดินน้ ำมัน ปั้นเป็นรูปร่ำงต่ำงๆ โดยมีเส้นลวดเสมือนเป็นโครงกระดูก
อยู่ภำยในหุ่นที่ปั้นและท ำให้สำมำรถน ำมำใช้งำนได้หลำยครั้ง แอนิเมชั่นแบบนี้ต้องอำศัยเวลำ ควำม
อดทนและควำมสำมำรถมำกต้องใช้ทักษะทำงศิลปะกำรปั้น และกำรถ่ำยภำพ ทั้งนี้เพรำะหุ่นจ ำลอง หรือ
สิ่งของประกอบฉำกนั้น หลำยๆสิ่งมีกำรขยับหรือเคลื่อนไหวไปพร้อม ๆ กัน ในหนึ่งภำพ ดังนั้นหำก
ต้องกำรแสดงควำมสมจริงจ ำเป็นต้องอำศัยควำมละเอียดในกำะรก ำหนดกำรเคลื่อนไหวเพื่อที่จะสร้ำง
ภำพลวงตำของกำรเคลื่อนไหวแต่ละภำพ