Page 18 - คำภาษาอื่นๆ
P. 18
9
ใบควำมรู้ที่ 2
เรื่อง ลักษณะของค ำภำษำอื่น ๆ ในภำษำไทย
ทองสุก เกตุโรจน์ (2551 : 8-28) กล่าวสรุปเรื่องการน าค าภาษาอื่นมาใช้ในภาษา
ของเราไว้ ดังนี้
1. เรำน ำค ำภำษำอื่นมำใช้ในภำษำของเรำด้วยเหตุส ำคัญ 4 ประกำร คือ
1.1 เราไม่มีค า ๆ นั้นใช้ในภาษาของเรา
1.2 เพื่อใช้แทนค าของเราที่มีอยู่แล้ว แต่เราเห็นว่าไม่ไพเราะหรือน่ากลัว
1.3 เพื่อใช้เป็นราชาศัพท์
1.4 เพื่อใช้ในวรรณคดี
2. ค ำภำษำอื่นเข้ำมำในภำษำของเรำได้ 4 ทำง คือ ทางการเมือง ทางวัฒนธรรม
ทางการค้า ทางภูมิศาสตร์ ค าภาษาหนึ่งอาจจะเข้ามาสู่ภาษาของเราได้หลายทาง
๓. เรำน ำค ำอื่นมำใช้ 8 ลักษณะ คือ
3.๑ การทับศัพท์
3.๒ การทับศัพท์แต่เสียงเปลี่ยนไป
3.๓ การใช้ค าไทยแปลค าต่างประเทศ
3.๔ การใช้ค าบาลีสันสกฤตแปลค าต่างประเทศ
3.๕ การใช้ค าบาลีสันสกฤตซ้อนหรือประสมกับค าไทยหรือค าต่างประเทศ
ในความหมายนั้น ๆ
3.๖ การใช้ค าที่มีความหมายเป็นที่เข้าใจกันแล้วซ้อนกับค าที่ยังไม่คุ้นเคย
เพื่อให้ช่วยแปลความหมายของค านั้น ๆ
3.๗ การสร้างค าใหม่ เพื่อแปลค าต่างประเทศ
3.๘ การเปลี่ยนเสียงและเปลี่ยนความหมาย
4. ระบบเสียง มีความส าคัญมากในการรับค าภาษาอื่นมาใช้ในภาษาของเรา ถ้าระบบเสียง
เหมือนกัน เราก็รับค านั้น ๆ มาใช้ทับศัพท์ได้โดยง่าย แต่ภาษาแต่ละภาษามักมีระบบเสียง
แตกต่างกันไปมากบ้างน้อยบ้าง ในการรับค าภาษาอื่นมาใช้จึงต้องพยายามหาเสียงที่ใกล้เคียงกัน
มาแทนที่ในเสียงภาษาอื่นที่ตนไม่มี มิฉะนั้นก็ต้องรับค าเหล่านั้นมาใช้ในลักษณะอื่น เช่น
แปลศัพท์ เป็นต้น