Page 66 - E-Book คู่มือการปฏิบัติงานล่าม เพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
P. 66

(5) โรงง�นขน�ดเล็ก กิจการประเภทนี้มักจะเป็นธุรกิจในครอบครัว

          หรือเป็นกิจการขนาดเล็กที่มีลูกจ้างเพียงไม่กี่คน บางแห่งไม่จดทะเบียน
          การประกอบกิจการ และไม่ประกอบกิจการอย่างเปิดเผย ลูกจ้างส่วนใหญ่
          เป็นแรงงานข้ามชาติและไม่มีการขออนุญาต มีการควบคุมกักขังให้ทำางาน

          อยู่แต่เฉพาะในโรงงาน และต้องทำางานอย่างหนัก มีการลงโทษที่รุนแรง
          ปัญหาที่พบในกลุ่มนี้ คือ ได้รับค่าแรงตำ่ากว่าอัตราค่าจ้างขั้นตำ่าที่กฎหมาย

          กำาหนด ต้องทำางานวันละหลายชั่วโมง โดยไม่ได้รับค่าทำางานล่วงเวลา
          นายจ้างไม่ยอมจ่ายค่าแรง ไม่มีสิทธิสวัสดิการ ไม่มีความปลอดภัย
          ในการทำางาน อาหารไม่เพียงพอ ยึดเอกสารประจำาตัวหรือบัตรอนุญาต

          ทำางาน บางรายถูกนายจ้างทำาร้ายบังคับให้ทำางาน


          2.6�หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือและคุ้มครอง

                ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์


                  ล่ามจำาเป็นต้องทราบข้อมูลเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และลักษณะ
          การทำางานของหน่วยงานต่างๆ ที่จะต้องเข้าไปทำางานด้วย เพื่อให้ทราบ
          บริบทของการแปลในการให้ข้อมูลของผู้ให้บริการต่อผู้เสียหายเพื่อให้

          ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ล่ามควรเรียนรู้ว่าหน่วยงานต่างๆ
          มีความคาดหวังอย่างไรต่อการใช้บริการล่าม มีวัฒนธรรมการทำางาน

          คำาศัพท์ทางวิชาการ คำาศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานหรือคำาสแลงเป็นอย่างไร
          และต้องเรียนรู้กฎระเบียบข้อปฏิบัติในการเข้าไปทำางานในสถานที่นั้นๆ















    64     คู่มือการปฏิบัติงานล่ามเพื่อการคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71