Page 20 - EbookSRNG2560
P. 20

4





               อาชีพ
                     อาชีพ หมำยถึง ประเภทหรือชนิดของงำนที่          1. นายจ้าง หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของ

               บุคคลนั้นท ำอยู่ บุคคลส่วนมำกมีอำชีพเดียว ส ำหรับ  ตนเองเพื่อหวังผลก ำไร หรือส่วนแบ่ง และได้จ้ำง
               บุคคลที่ในสัปดำห์แห่งกำรส ำรวจมีอำชีพมำกกว่ำ 1   บุคคลอื่นมำท ำงำนในธุรกิจในฐำนะลูกจ้ำง
                                                                    2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง
               อำชีพ ให้นับอำชีพที่มีชั่วโมงท ำงำนมำกที่สุด ถ้ำ  หมำยถึง ผู้ประกอบธุรกิจของตนเองโดยล ำพังผู้เดียว

               ชั่วโมงท ำงำนแต่ละอำชีพเท่ำกันให้นับอำชีพที่มี  หรืออำจมีบุคคลอื่นมำร่วมกิจกำรด้วยเพื่อหวังผล
               รำยได้มำกกว่ำ ถ้ำชั่วโมงท ำงำนและรำยได้ที่ได้รับ  ก ำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้ำงลูกจ้ำงแต่อำจมี

               จำกแต่ละอำชีพเท่ำกัน ให้นับอำชีพที่ผู้ตอบ      สมำชิกในครัวเรือนหรือผู้ฝึกงำนมำช่วยท ำงำนโดย

               สัมภำษณ์พอใจมำกที่สุด ถ้ำผู้ตอบสัมภำษณ์ตอบ     ไม่ได้รับค่ำจ้ำง  หรือค่ำตอบแทนอย่ำงอื่นส ำหรับ

               ไม่ได้ให้นับอำชีพที่ได้ท ำมำนำนที่สุด กำรจัดจ ำแนก  งำนที่ท ำ
                                                                    3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง
               ประเภทอำชีพ ตั้งแต่ ไตรมำสที่ 1 พ.ศ.2554 ใช้ตำม   หมำยถึง ผู้ที่ช่วยท ำงำนโดยไม่ได้รับค่ำจ้ำงในไร่นำ

               International Standard Classification of Occupation, 2008   เกษตร หรือในธุรกิจของสมำชิกในครัวเรือน
               (ISCO – 08) ขององค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศ (ILO)      4. ลูกจ้าง หมำยถึง ผู้ที่ท ำงำนโดยได้รับ
                     ก่อน พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอำชีพจ ำแนก   ค่ำจ้ำงเป็นรำยเดือน รำยสัปดำห์ รำยวัน รำยชิ้น

               ตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอำชีพของประเทศไทยโดย    หรือเหมำจ่ำย  ค่ำตอบแทนที่ได้รับจำกกำรท ำงำน
               อ้ำงอิง International Standard Classification of   อำจจะเป็นเงิน หรือสิ่งของ
               Occupation, 1988 (ISCO-88)                              ลูกจ้างแบ่งออกเป็น 3 ประเภท


               อุตสาหกรรม                                              4.1  ลูกจ้างรัฐบาล หมำยถึง ข้ำรำชกำร
                     อุตสาหกรรม หมำยถึง ประเภทของกิจกรรม      พนักงำนเทศบำล พนักงำนองค์กำรบริหำรส่วน
               ทำงเศรษฐกิจที่ได้ด ำเนินกำรโดยสถำนประกอบกำร    จังหวัด เจ้ำหน้ำที่องค์กำรระหว่ำงประเทศ ตลอดจน
               ที่บุคคลนั้นก ำลังท ำงำนอยู่ หรือประเภทของธุรกิจ   ลูกจ้ำงประจ ำ และชั่วครำวของรัฐบำล
               ซึ่งบุคคลนั้นได้ด ำเนินกำรอยู่ในสัปดำห์แห่งกำร          4.2  ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ หมำยถึง ผู้ที่

               ส ำรวจ  ถ้ำบุคคลหนึ่งมีอำชีพมำกกว่ำหนึ่งอย่ำงให้  ท ำงำนให้กับหน่วยงำนรัฐวิสำหกิจ
               บันทึกอุตสำหกรรมตำมอำชีพที่บันทึกไว้ กำรจัด             4.3  ลูกจ้างเอกชน หมำยถึง ผู้ที่ท ำงำน
               จ ำแนกประเภทอุตสำหกรรม ตั้งแต่ไตรมำสที่ 1 พ.ศ.   ให้กับเอกชนหรือธุรกิจของเอกชน รวมทั้งผู้ที่รับจ้ำง
               2554 ใช้ตำม Thailand Standard Industrial Classification,   ท ำงำนบ้ำน

               (TSIC 2009)                                          5. การรวมกลุ่ม หมำยถึง กลุ่มคนที่มำ
                     ก่อน พ.ศ. 2553 กำรจัดประเภทอุตสำหกรรม    ร่วมกันท ำงำนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และ
               จ ำแนกตำมควำมเหมำะสมกับลักษณะอุตสำหกรรม        ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมำชิกแต่ละคนมีควำมเท่ำ

               ของประเทศไทย โดยอ้ำงอิง International          เทียมกันในกำรก ำหนดกำรท ำงำนทุกขั้นตอนไม่ว่ำ
               Standard Industrial Classification, (SIC 1989)   เป็นกำรลงทุน กำรขำย งำนอื่นๆ ของกิจกำรที่ท ำ
                                                              ตลอดจนกำรแบ่งรำยได้ให้แก่สมำชิกตำมที่ตกลงกัน
               สถานภาพการท างาน                               (กำรรวมกลุ่มดังกล่ำวอำจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของ
                     สถานภาพการท างาน หมำยถึง สถำนะของ        สหกรณ์หรือไม่ก็ได้)
               บุคคลที่ท ำงำนในสถำนที่ที่ท ำงำนหรือธุรกิจ แบ่ง

               ออกเป็น 5 ประเภท คือ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25