Page 6 - the best ebook ever_Neat
P. 6
6
สีของผีเสื้อกลางคืน
ผีเส้ือกลางคืนชนิด Bristom
betularia ซ่ึงมีอย ูมากในประเทศอังกฤษ
อาศัยอยูตามตนไมที่มีไลเคนสเกาะอย ูเต็ม
สีตัวของมันจึงเปนสีออนจางซึ่งชวยใหมัน
อําพรางตัวไดดี จนกระทั่งประมาณป
1845 ซึ่งเปนชวงปที่มีการปฏิวัติ 2 รูปแบบของการผสมพันธุสิ่ง
อุตสาหกรรมในเขตเมือง จะมีเขมาควัน มีชีวิตสวนมากจะมีรูปแบบการสืบพันธ ุ
จากปลองควันของโรงงานอุตสาหกรรม แบบอาศัยเพศอยางเดนชัด โดยแบงเปน2
ฟุงกระจายไปทัวในอากาศ
กรณี
เริ่มมีผูพบผีเสื้อกลางคืน สปชีส 2.1การผสมพันธุแบบสุม
เดียวกันนี้แตมีสีดําเขมขึ้นกวาเดิม เปนรูปแบบที่เกิดขึ้นเปนสวนมากใน
ปรากฏขึ้นในเขตเมืองแมนเชสเตอร ซึ่ง ประชากรการผสมพันธุแบบสุมนี้จะไมมี
เปนเขตที่มีการอุตสาหกรรมใหญและมี ผลตอการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนในแตละ
กลุมควันจากโรงงานอุตสาหกรรมทํา ชั่วอายุมากนัก
ลายพวกไลเคนสตามเปลือกไม และ
ทําใหตนไมมีสีดําเต็มไปหมด 2.2การผสมพันธุที่ไมเปนแบบสุม
ตอมาในชวงเวลาไมถึงรอยปพบผีเสื้อ เปนรูปแบบที่เกิดขึ้นเปนบางครั้ง โดยมี
กลางคืนที่มีสีดําเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว การเลือกค ูผสมภายในกล ุม ซึ่งมีแนวโนมที่
จนเกือบทั้งหมดเปนผีเสื้อสีดําทั้งหมด จะทําใหเกิด การผสมพันธ ุภายในสายพันธ ุ
เดียวกัน หรือท ีเรียกวาอินบรีดดิง
(inbreeding) จะยังผลใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนในประชากรนั้น
ได เพราะถาเปนการผสมภายในสายพันธ ุ
เดียวกัน และ ประชากรมีขนาดเล็กยอมจะ
มีโอกาสที่ยีนบางยีนเพิ่มความถี่สูงขึ้น
ในรุนตอมา และในที่สุดจะไมมีการแปรผัน
ของยีนเกิดขึ้นโดย สวนใหญอาจเปนสภาพ
โฮโมไซกัสและเปนสาเหตุใหยีนบางยีนมี
ความคงที่ (fix) และบางยีนสูญหายไป