Page 19 - YEC M
P. 19
โบรคเกอร์นักเทรด
ระบบกลไกตลาดที่นี่ได้สร้างกลุ่มโบรคเกอร์ที่เรียกว่านายฮ้อย
แห่งตลาดนัดวัว-ควาย บ้านหนองกุงกระต่าย เหยียบเชือกขึ้นมา ส่วนใหญ่มักเป็นชาวบ้านที่อยู่ใกล้ละแวกตลาดพวกเขา
แวะเวียนเข้ามาที่ตลาดเป็นเวลาช้านานสร้างเครดิตและความน่าเชื่อถือแก่
ฝุ่นตลบมองเห็นแต่ไกล รถบรรทุกวิ่งขวักไขว่ ฝูงวัว-ควายนับพันร้องสนั่นปนเป ที่นี่ นายฮ้อยผู้ขายที่มาจากแดนไกล หากเจ้าของสัตว์มือแรกมาถึงแต่เช้าและ
คือ“ตลาดนัดโค-กระบือบ้านหนองกุงกระต่าย” ต. สันป่าตอง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ไม่อยากออกไปตากแดดเพื่อท�าการซื้อขายเอง นายฮ้อยเหยียบเชือกคือ
จุดรวมพลของพ่อค้าวัว-ควายหรือนายฮ้อยที่ต่างพากันน�าเอาสัตว์ของตนมาซื้อขาย แลก บริการโบรคเกอร์ชั้นดี เพียงผู้ขายแจ้งราคาที่อยากได้แล้วรับมัดจ�าไว้ตัวละ
เปลี่ยนกันที่นี่ในทุกวันที่ 5,10,15,20,25และ30 ของทุกเดือนต่อเนื่องกันทั้งปี เหล่านายฮ้อย ร้อยถึงสองร้อยบาท ที่เหลือก็แค่หาร่มไม้ที่ลมพัดผ่านเย็นๆแถวรอบนอก
ผู้ขายส่วนใหญ่เป็นคนแถบภาคอีสานพวกเขารวบรวมสัตว์เหล่านี้จากมือเกษตรกรรายเล็ก ตลาดแล้วแขวนเปลญวณรอฟังข่าวดีได้เลย นายฮ้อยเหยียบเชือกก็จะเริ่ม
รายน้อยบ้างซื้อขาดบ้างฝากมา ขนกันด้วยรถปิ๊กอัพรถหกล้อมุ่งหน้ามาที่นี้อย่างกระตือรือ ภาระกิจของเขาด้วยการจูงวัว-ควายเหล่านั้นเข้าสู่บริเวรตลาด การเก็งก�าไร
ล้น เมื่อมาถึงสัตว์ทุกตัวจะต้องเสียค่าเข้าตลาดตัวละ 20 บาทและทุกตัวจะต้องถูกน�าไป ระยะสั้นก็เกิดขึ้นทันที พวกเขาเล่าให้ฟังว่าการขายแบบนี้ท�าก�าไรได้เสมอ
ฉีดวัคซีนและออกใบรับรองจากปศุสัตว์อ�าเภอเสียก่อน ไม่เช่นนั้นอย่าได้หวังว่าจะมีคนซื้อ อย่างน้อยก็ตัวละสองร้อยบาทและบ่อยครั้งที่พวกเขาท�าก�าไรได้ถึงหมื่น
หรือถ้ายังฝืนซื้อก็ขนออกตลาดได้ไม่เกิน1กิโลเมตรเป็นอันต้องเจอด่านตรวจอีกชั้น นี่เป็น บาทต่อตัว โดยที่พวกเขาไม่ต้องมีเงินทุนส�ารอง ไม่ต้องเลี้ยงสัตว์ ไม่ต้องไป
การสร้างมาตรฐานการป้องกันโรคสัตว์ที่น่าประทับใจมากส�าหรับนายฮ้อยยุคใหม่ ส่วนนาย ต่อรองกับชาวบ้านรายย่อยและไม่ต้องมีรถบรรทุกเลย แค่ต้องตื่นให้เช้า
ฮ้อยผู้ซื้อรายใหญ่มักมาจากแถบภาคกลางแถวสุพรรณบุรี ประจวบขีรีขันธ์ ราชบุรี ลพบุรี และขยันสร้างเครดิต เมื่อขายได้พวกเขาจะน�าเงินไปจ่ายให้คนที่นอนอยู่
รองลงมาก็แขกไทยที่ซื้อเข้าเขียงทั่วภาคอีสาน ถ้าเป็นการส่งออกก็จะเป็นพ่อค้าเวียดนาม เปลแทบทั้งวัน โดยกฏเหล็กคือเจ้าของมือแรกจะเรียกร้องเงินเพิ่มจาก
นานๆมาทีแต่ซื้อทีแทบเหมาตลาด ผู้ซื้อจะขนด้วยรถสิบล้อหรือสิบแปดล้อพ่วงเหมากัน ราคาที่ตนแจ้งไว้แต่แรกไม่ได้
แบบอัดเต็มคันรถ ท�าให้มีวัว-ควายหมุนเวียนเข้ามายังตลาดแห่งนี้เฉลี่ยราว 800-1,000 ตัว ส่วนนายฮอยมือแรกคนไหนที่ไม่ต้องการใช้บริการโบรคเกอร์นาย
ต่อนัด นายฮ้อย ชาย-หญิงที่แต่งตัวเก่าๆสวมรองเท้าคีบดาวเทียมถูกๆพกพาค้อนตอกหลัก ฮ้อยเหยียบเชือกก็ต้องลุยตลาดขายเองซึ่งส่วนใหญ่ก็จะขายได้ ก�าไรก็จะได้
ซึ่งเป็นเครื่องมือประจ�าวิชาชีพ ความมอซอของพวกเขามันช่างลวงตาคนทั่วไปได้ง่ายจริงๆ เต็มเม็ดเต็มหน่วย แต่ถ้านึกสนุกอยากท�าก�าไรระยะสั้นบ้างก็ต้องวัดดวงโดย
เพราะในความเป็นจริงทุกคนจะมีกระเป๋าคาดเอวที่จุเงินเป็นฟ่อนๆเพื่อการซื้อขายอย่าง การซื้อเงินสดแล้วจูงสัตว์ข้ามฝั่งตลาดไปอีกฟากแล้วท�าการขายเลย ถ้าโชค
น้อยก็สองสามหมื่นบาท รายใหญ่ๆก็ต้องพกกันมาทีหลักล้านเลยทีเดียว เมื่อมีการเคาะ ดีก็ขายได้ก�าไรทันทีแต่ถ้าโชคร้ายขายไม่ออกก็ต้องขนสัตว์กลับบ้านไปเลี้ยง
ขายก็ต้องนับเงินสดๆกันต่อหน้าเพราะที่นี่เขาไม่รับบัตรเครดิตไม่ว่าธนาคารไหนก็ตาม แล้วค่อยน�ากลับมาแก้มือใหม่ในนัดถัดไป แต่ถ้าโชคยังมีซื้อเจอแม่วัวท้อง
ความคึกคักเริ่มตั้งแต่สายๆยิ่งใกล้ปิดตลาดยิ่งถาโถม นายท่าตลาดบอกกับเราว่า “ค�าว่า แก่แบบไม่รู้ตัวไปคลอดลูกที่บ้านอันนี้เขาเรียกว่าถูกหวย นี้คือเสน่ห์ที่น่า
เงียบเหงา” ลืมไปได้เลยมันไม่เคยเกิดขึ้นที่นี่ 30 ปีมาแล้ว หลงไหลของระบบเศรษฐกิจแบบบ้านๆของเกษตรกรผู้ค้าขายสัตว์ที่เป็น
อาหารหลักของคนไทย ที่ผ่านมาการเพิ่มขึ้นของการเพาะปลูกและภาค
อุตสาหกรรมในภาคอื่นๆของประเทศไทยท�าให้พื้นที่เลี้ยงสัตว์ลดลง ต่างกับ
ภาคอีสานที่ยังมีพื้นที่เลี้ยงสัตว์อีกมาก ปัจจัยนี้พลักดันให้ราคาเนื้อวัว-ควาย
เพิ่มสูงขึ้น เกษตรกรและพ่อค้าจึงมีรายได้สูงขึ้นไปด้วย หากเราค�านวณจาก
จ�านวนสัตว์เฉพาะที่เข้ามาที่ตลาดหนองกุงกระต่ายแห่งนี้ ราว 800 ตัวต่อ
วัน ราคาต�่าสุดตัวละ 15,000 บาท 72 วันต่อปี มันคือเงิน 864,000,000
บาท เน้นค�าว่านี้คือขั้นต�่า ยังไม่นับค่าธรรมเนียม ค่าวัคซีนและเงินที่นายฮ้อย
แต่ละคนน�ามาใช้จ่ายส่วนตัวที่อ�าเภอนาดูน นี่คือโจทย์ทางเศรษฐกิจที่
จังหวัดมหาสารคามต้องหันมามองและคิดร่วมกันว่าจะเพิ่มมูลค่าตลาดแห่ง
นี้ได้อย่างไร
ตลาดซื้อ-ขาย
800ล้านต่อปี