Page 39 - 16_การรกษาความปลอดภย_Neat
P. 39

๓๒




                             ๕.๒  กําลังและขีดความสามารถของเจาหนาที่รักษาการณหรือยามรักษาการณ
              เพียงพอกับการปฏิบัติหนาที่ตามความสําคัญของสถานที่ของสวนราชการนั้นๆ หรือไมมีการแกไข

              ทดแทน หรือปรับปรุงจุดออนเกี่ยวกับเรื่องนี้ดวยวิธีใด มีการประสานแผนการรักษาความปลอดภัยกับ
              สวนราชการอื่นที่เกี่ยวของหรือไม

                             ๕.๓  ตองมีการคัดเลือก ตรวจสอบประวัติและพฤติการณ  เพื่อสรรหาตัวบุคคลที่ทํา
              หนาที่เจาหนาที่รักษาการณ หรือยามรักษาการณ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติดานคุณธรรม จริยธรรม

              และสมรรถนะทางรางกาย
                             ๕.๔  ตองมีการกํากับดูแลโดยเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยของหนวยงานนั้น ๆ

              ดวยวิธีการดังตอไปนี้
                                   ๕.๔.๑  การกํากับดูแลโดยบุคคล หมายถึง การตรวจการปฏิบัติงานโดยหัวหนา

              เจาหนาที่รักษาการณตามลําดับชั้น การตรวจจะทําตั้งแตกอนเริ่มปฏิบัติหนาที่ ตรวจสภาพทั่วไปของ
              เครื่องมือ อุปกรณอาวุธ ทบทวนคําสั่ง และระเบียบของสถานที่นั้น ตรวจตามระยะเวลาระหวาง

              การปฏิบัติหนาที่ เพื่อดูความพรอม ความเครงครัด ความตื่นตัว ในการปฏิบัติหนาที่

                                   ๕.๔.๒  การกํากับดูแลโดยเครื่องมือเปนการใชเครื่องมือ หรือวิธีการที่เสมือน
              บังคับใหเจาหนาที่รักษาการณตองปฏิบัติตามระยะเวลาที่ทําหนาที่ เครื่องมือและวิธีการมีดังนี้
                                           ๑)  บันทึกการปฏิบัติโดยใชแบบฟอรมรายงานการปฏิบัติใหเจาหนาที่

              รักษาการณเปนผูลงบันทึกตามจุด และเวลาที่กําหนดไว

                                           ๒)  ตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยเครื่องมือสื่อสาร เชน วิทยุสื่อสาร
              โทรศัพทและสัญญาณอื่น ๆ ที่สามารถสื่อความหมายไดโดยหัวหนาเจาหนาที่รักษาการณหรือ

              เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยของหนวยงานเปนผูตรวจสอบ
                             ๕.๕  ตองมีการฝกอบรมและพัฒนาเจาหนาที่รักษาการณและหรือยามรักษาการณ

              เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่มีประสิทธิภาพ  ใหตระหนักถึงภยันตรายที่อาจเกิดขึ้นแกหนวยงาน
              สรางจิตสํานึกในการรักษาความปลอดภัย ฝก ทบทวน การใชเครื่องมือ อาวุธ อุปกรณตาง ๆ ตลอดจน

              ทดสอบความสามารถ วินัยในการปฏิบัติหนาที่
                          ö. ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅÐÃЧѺÍѤ¤ÕÀÑÂ

                             หัวหนาสวนราชการตองกําหนดแผนปองกันและระงับอัคคีภัย โดยมีเจาหนาที่ควบคุม
              การรักษาความปลอดภัยของหนวยงานเปนผูกําหนดรายละเอียดและกํากับดูแลใหเปนไปตามกฎหมาย

              เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย ในแตละหนวยงานควรพิจารณาดังนี้
                             ๖.๑  เจาหนาที่ดับเพลิง ควรกําหนดตัวบุคคลและหนาที่ความรับผิดชอบใหชัดเจน

                                   ๖.๑.๑  ในเวลาราชการ ใหแบงกลุมเจาหนาที่รับผิดชอบดานตาง ๆ เชน
              กลุมที่ทําหนาที่ดับเพลิง กลุมที่ทําหนาที่ขนยายเอกสารและวัสดุอุปกรณตาง ๆ กลุมที่ทําหนาที่คนหา

              ตรวจตราผูที่หลงเหลือในอาคาร เปนตน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44