Page 10 - E-book หนาทพลเมองและศลธรรม OMG V.02_Neat
P. 10

5





                  1.2) ลักษณะของสถาบันทางสังคม




                  ลักษณะของสถาบันของสถาบันทางสังคม พิจารณาได้จากหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ (นิเทศ

           ตินณะกุล.2559:108)

                  1. ความจริงแท้ภายนอก หมายความว่า สถาบันสังคมที่เป็น

                  2. วัตถุประสงค์ หมายความว่า เกณฑ์ที่ยอมรับกันโด เป็นสิ่งที่เหมาะสม ดีงาม ควรยึด
           เป็นหลักในการปฏิบัติตน

                  3. อํานาจบังคับ หมายความว่า สถาบันทางสังคมมีอํานาจบังคับให้ปฏิบัติตามแบบแผน

           ของสถาบัน
                  4. อํานาจทางศีลธรรม หมายความว่า สถาบันทางสังคมมีอํานาจเด็ดขาดในการบังคับให้

           สมาชิก ของสังคมทําตามกฎระเบียบของสถาบัน และมีอํานาจในการลงโทษหากไม่ทําตามก็จะ

           ได้รับการลงโทษ ตามข้อกําหนดนั้น
                  5. ความเป็นประวัติศาสตร์ หมายความว่า สถาบันทางสังคมเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว และ

           ยังดํารงอยู่ ดังนั้นสถาบันทางสังคมจึงมีประวัติความเป็นมายาวนาน



                  1.3 หน้าที่ของสถาบันทางสังคม




                  หน้าที่ของสถาบันทางสังคม โดยทั่วไปสังคมต่าง ๆ จะคงสภาพอยู่ได้โดยผ่านการจัดการ

           ของสถาบัน ทางสังคมเพื่อทําให้สังคม สามารถคงสภาพอยู่ได้ แก้ปัญหาความมั่นคงปลอดภัย

           ภายในและระหว่าง ประเทศ บางสถาบันจะทําหน้าที่มากมายในชีวิตประจําวันของเราหน้าที่

           สําคัญของสถาบันมีดังนี้
                  1. การผลิตสินค้า บริการ ด้านเศรษฐกิจ การเงิน จําหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค สถาบัน

           ที่ทําหน้าที่นี้ คือ สถาบันเศรษฐกิจ

                  2. การสร้างครอบครัวมีทายาทเพิ่มสมาชิกประชากรของประเทศให้ความรักความอบอุ่น
           สถาบันที่ ทําหน้าที่นี้คือ สถาบันครอบครัว

                  3. รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศความมั่นคงของประเทศชาติ ความปลอดภัย

           ของคนในชาติความปลอดภัยของคนในชาติ สถาบันทําหน้าที่นี้คือ สถาบันการเมืองการปกครอง

                  4. สังคมเลื่อมใสศรัทธาความสงบสุขทางจิตใจลดปัญหาการแก่งแย้งความวุ่นวาย
           สถาบันที่ทําหนาทนคือ สถาบันศาสนา
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15