Page 16 - สถานที่ท่องเที่ยวใกล้ทางรถไฟสายมรณะ
P. 16

ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน ซึ่งในที่สุดมาบรรจบกันที่ Konkuita  เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1943  การสร้างทาง

               รถไฟดังกล่าว มีผู้เสียชีวิตที่เป็นเชลยศึกประมาณ 15,000 คน และพลเรือนอีก 100,000 คน เนื่องจากประสบ

               โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การขาดอาหาร ความเหน็ดเหนื่อยอ่อนเพลีย และการทารุณกรรม




               สุสานแห่งนี้เป็นสุสานที่ใหญ่ที่สุดในจ านวนสามแห่งที่ตั้งอยู่ตลอดเส้นทางรถไฟพม่า-ไทย  ตั้งอยู่ใกล้สถาน

               ที่ตั้งค่ายกักกันเชลยศึก “กาญจนบุรี” ในอดีตซึ่งเป็นสถานที่ที่เชลยศึกส่วนใหญ่เดินทางผ่านไปที่ค่ายอื่น

               Colin St Clair Oakes  เป็นผู้ออกแบบสุสานซึ่งหน่วยสุสานทหารบก ( The Army Graves Service) สร้างขึ้น

               หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง  หน่วยงานดังกล่าวได้ด าเนินการย้ายศพจากที่ฝังศพของค่ายต่างๆ  และ

               สถานที่อื่นๆ ตลอดเส้นทางรถไฟช่วงล่างในฝ่ายไทย รวมทั้งสถานที่อื่นๆ ในประเทศไทยด้วย



                    สุสานแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงผู้เสียชีวิตจากประเทศในเครือจักรภพมากกว่า 5,000 คน และจาก

               ฮอลันดา 1,800 คน และในจ านวนนี้มีผู้เสียชีวิตจากโรคภัยต่างๆ ที่ Nieke และ Changaraya ประมาณ 300

               คน หลังจากด าเนินการเผาศพแล้วได้น าอังคารไปฝังที่หลุมฝังศพสองแห่ง ส าหรับรายนามของผู้เสียชีวิต

               จารึกไว้ที่ศาลาของสุสาน นอกจากนั้นหลุมฝังศพทหารของกองทัพอินเดีย 11 คน ที่ฝังอยู่ตามสถานที่อื่นใน

               ประเทศไทยซึ่งไม่สามารถดูแลรักษาได้ รายนามเหล่านั้นถูกจารึกไว้ที่ผนังตึก ตรงบริเวณทางเข้าสุสาน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19