Page 76 - พันธุ์ไม้ 50 ชนิด 507 (2,11,21,23,40)
P. 76

35) เอื องหมายนา





























                       ชื่อพื้นเมือง    :    ชู้ไลบ้อง (แม่ฮ่องสอน/ชาวกะเหรี่ยง), เอื้องเพ็ดม้า (ภาคใต้),

                                       บันไดสวรรค์ (นครศรีธรรมราช)

                       ชื่อวิทยาศาสตร์  :    Cheilocostus speciosus (J.Koenig) C.D.Specht

                       ชื่อวงศ์      :      Costaceae

                       ชื่อสามัญ     :      Crape ginger, Malay ginger, Spiral Flag, Wild ginger

                       ถิ่นก าเนิด    :     ในเขตร้อนและเป็นพืชประจ าถิ่นในประเทศอินเดีย ภูมิภาคเอเชีย

                                       ตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเกาะนิวกินี

                       ลักษณะ        :      ล าต้นอวบน้ า ต้นเกลี้ยงหรือมีขนปกคลุม เหง้าใต้ดินสะสมอาหาร กาบใบปิด

                                       โอบรอบล าต้น มีสีแดงหรือสีน้ าตาลแดง


                                            ใบของเอื้องหมายนาเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ รูปร่างกึ่งรูปขอบขนานกึ่ง

                                       รูปหอก (oblong - lanceolate) ปลายใบเรียวแหลม ใต้ใบมีขนละเอียดสีขาวคล้าย

                                       ก ามะหยี่ โคนใบแผ่เป็นกาบสีเขียวหรือสีน้ าตาลแดงหุ้มล าต้น

                                            ดอกของเอื้องหมายนาออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อดอกตั้งตรง

                       ประโยชน์      :      ใช้ในการประกอบอาหารเพราะเหง้าเป็นหัวมีแป้ง 60% มีเส้นใยแต่ในเหง้าสด

                                       จะพิษควรต้มให้สุกก่อน และ ในมาเลเซียใช้ต้นเอื้องหมายนาในพิธีกรรมต่างๆ

                       นิเวศวิทยา    :      ชอบขึ้นในที่ชื้น  โดยเฉพาะป่าดิบชื้นทั่วไป

                       เวลาออกดอก  :        พฤษภาคม - ตุลาคม

                       เวลาติดผล     :      -






                                                                                                           69
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81