Page 22 - group5sec2000153
P. 22

16







                       ศักยภาพการผลิตตามห่วงโซ่มูลค่า(Value Chain) สู่การตลาดในแต่ละระดับ
                       7. เพื่อให้เครือข่ายบริหารการเชื่อมโยงศูนย์กระจายสินค้า และหรือแหล่งจ าหน่ายสินค้าภายใต้
                       โครงการหนึ่งต าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ในปัจจุบันและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


                              ในภาวะที่เศรษฐกิจของประเทศต่างก าลังแข่งขันกันอย่างมากทั้งด้านการค้า  การ
                       ลงทุน  และการสื่อสาร  ท่ามกลางบรรยากาศของกระแสโลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าของวิทยาการ

                       แขนงต่างๆ   การพัฒนาเพื่อการส่งออกผลิตภัณฑ์ OTOP  นับเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
                       ของประเทศอีกทางหนึ่งที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย

                       ในตลาดโลก  ด้วยการอาศัยการพึ่งพาเศรษฐกิจในประเทศและต่างประเทศควบคู่กันด้วย   ซึ่งการที่
                       จะพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์ OTOP มีลู่ทางการส่งออกสดใสจ าเป็นที่ภาครัฐต้องให้การสนับสนุนและแก้ไข
                       ปัญหาอุปสรรคที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง  พร้อมกับสร้างจุดแข็งและเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ OTOP

                       เพื่อดึงดูดความสนใจจากตลาดต่างประเทศให้มากขึ้น ซึ่งนอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของการเสริม
                       รายได้  ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสร้างความแข็งแกร่งแก่ชุมชนระดับฐานรากแล้ว  ใน

                       ระดับมหภาคยังเป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตอย่างมั่นคง
                       และยั่งยืนมากขึ้น   ดังนั้น  การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อการส่งออกจึงเป็นแนวทางส าคัญที่จะ

                       ช่วยสนับสนุนภาคการส่งออกของไทยให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องควบคู่กับการพัฒนาขีด
                       ความสามารถการแข่งขันในเชิงเศรษฐกิจทุกๆ ด้าน  เพื่อก้าวให้ทันกับความเคลื่อนไหวในตลาดโลก

                       อันจะน าไปสู่การสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงแก่ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่อไปในภายหน้า
                       (ส านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพังงา,2560)


                              หมู่บ้ำนนวัตวิถี













                                      ที่มา plan.cdd.go.th/คู่มือแนวทางการด าเนินง/otop-นวัตวิถี

                                      นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมขน กล่าวถึงความเป็นมาแนวคิดวิธีการ

                       ด าเนินการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีว่า โอทอปเปรียบเป็นเหรียญสองด้าน ซึ่ง 16 ปีที่ผ่านมาใน
                       ระบบเก่า เราท าอยู่ด้านเดียวคือ ด้านหัว คือ สินค้าโอทอปที่มีคุณภาพ ผ่านมาตรฐานของรัฐ โดยผ่าน

                       การคัดสรรสุดยอดโอทอป ซึ่งทั่วประเทศมีจ านวน 15,000 ราย แต่เรามีผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียน
                       อยู่ 8 หมื่นกว่าราย ท าให้มีสินค้าโอทอปที่ตกเกณฑ์ถึง 7 หมื่นราย ต่อจากนี้เราจะเริ่มท าเหรียญด้านที่

                       สอง คือชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ซึ่งเป็นแนวคิดพัฒนา OTOP รูปแบบใหม่ โดยให้ขายสินค้า
                       อยู่ภายในชุนชน เป็นการสร้างรายได้เพิ่มให้ชุมชน น าเสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27