Page 32 - โครงงานเผยแพร่ภูมิปัญญาย้อมสีผ้าจากมูลควายกลุ่มที่5sec02
P. 32
25
8. วิธีกำรคัดเลือกฝ้ำย
ฝ้ายที่ใช้ในการผลิตนั้นจะมีทั้งผู้คนในชุมชนปลูกเองและซื้อจากโรงงาน โดยการคัดเลือกฝ้าย
นั้นจะมีการคัดเลือกจากฝ้ายที่ไม่มีเศษวัสดุเจือปน ฝ้ายที่รับซื้อจากโรงงานจะมีความละเอียดกว่า ซึ่ง
ในการผลิตก็สามารถใช้ได้ทั้งสองแบบ
9. ขั้นตอนกำรย้อม
9.1 หมักขี้ควายลงในบ่อ 2-3 วัน
9.2 กรองเอาเฉพาะน้ าสี
9.3 กากใยที่ได้น าไปท าเป็นปุ๋ยหมัก
9.4 น าสีขี้ควายที่ผ่านการกรองไปต้มในน้ าเดือดจนขึ้นฟอง
9.5 น าเส้นใยลงย้อมในหม้อต้ม
9.6 กลับเส้นฝ้ายสม่ าเสมอเพื่อให้สีได้กระจายอย่างทั่วถึง
9.7 น าเส้นฝ้ายที่ย้อมเสร็จซักล้างให้สะอาด
9.8 ดับกลิ่นด้วยการต้มจุ่มน้ าสมุนไพร ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ และต้นอ้ม
9.9 น าเส้นฝ้ายที่ย้อมเสร็จตากในที่ร่มลมโกรก
ฝ้ำยที่ตำกในที่ร่มลมโกรก
10. ประเภทสมุนไพร
สมุนไพรที่น ามาใช้ในการหมักย้อมผ้าจากมูลควายนั้น จะต้องมีคุณสมบัติในการดับกลิ่นได้ดี
ซึ่งกลุ่มทอผ้าผลิตย้อมสีผ้าจากมูลควายนั้นได้เลือกใช้ตะไคร้ ใบมะกรูดและต้นอ้มในการดับกลิ่น ซึ่ง
สมุนไพรทั้งสามชนิดนี้ สามารถดับกลิ่นมูลควายได้ดีเยี่ยม และสามารถหาได้ง่ายเนื่องจากเป็น
ทรัพยากรธรรมชาติภายในหมู่บ้าน กระบวนการหมักนั้น เริ่มจากย้อมสีจากน้ าหมักแล้วน าไปซักล้าง
ให้กากใยออกหมดก่อนแล้วน ามาต้มชุบน้ าสมุนไพรจะช่วยลดกลิ่นได้ระดับหนึ่งจากธรรมชาติ ต้ม
ประมาณครึ่งชั่วโมงและต้องกลับเส้นฝ้ายไปมาเพื่อให้ได้สีที่มีความสม่ าเสมอ
11. เวลำในกำรย้อมผ้ำ
เวลาในการย้อมผ้านั้น จะใช้เวลาในการต้มเพียงครึ่งชั่วโมง และมีการกลับเส้นฝ้ายไปมา
เพื่อให้สีกระจายอย่างทั่วถึงในเนื้อผ้า