Page 59 - รายงานคุณภาพชีวิตสุราษฎร์ฯ 61
P. 59

รายงานคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดสุราษฎรธานี ป 2561

                                         ที่มาการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐาน จปฐ.


                        1. ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) เปนขอมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงคตามเกณฑ
                 มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้วัดวา อยางนอยคนไทยควรจะมีระดับความเปนอยูไมต่ํากวาเกณฑที่กําหนด ในชวง
                 ระยะเวลา  หนึ่ง ๆ ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และเปนขอมูลที่ทําใหประชาชนสามารถ
                 เรียนรูและทราบไดดวยตนเองวาในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัวเปนอยางไร  รวมตลอดไปถึง
                 หมูบาน/ชุมชน อยูในระดับใด มีปญหาที่จะตองแกไขในเรื่องใดบาง เปนการสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวม

                 ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม ซึ่งเปนนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบทของประเทศ
                        ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ขอมูลระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจําเปนพื้นฐานของคน
                 ไทยเปนรายครัวเรือนในดานตาง ๆ  เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ไดกําหนดมาตรฐานขั้นต่ําไววาคนไทยควรมีคุณภาพชีวิต

                 ในแตละดานเปนอยางไรในชวงระยะเวลาหนึ่ง ๆ

                        2. หลักการของขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.)
                            2.1 ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ใชเครื่องมือมือตัวชี้วัดพื้นฐาน เปนเครื่องมือของกระบวนการ
                 เรียนรูของประชาชนในหมูบาน/ชุมชน เพื่อใหประชาชนทราบถึงสภาพความเปนอยูของตนเอง และหมูบาน/ชุมชน
                 วาบรรลุตามเกณฑความจําเปนพื้นฐานแลวหรือไม

                            2.2  สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนา โดยผานกระบวนการความจําเปนพื้นฐานนับตั้งแต
                 การกําหนดปญหาความตองการที่แทจริงของชุมชน คนหาแนวทางแกไขปญหา ตลอดจนการประเมินผลการ
                 ดําเนินงานที่ผานมา
                            2.3 ใชขอมูลความจําเปนพื้นฐาน เปนแนวทางในการคัดเลือกโครงการ/กิจกรรม ตางๆ ใหสอดคลอง

                 กับสภาพปญหาที่แทจริงของหมูบาน/ชุมชน สามารถใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
                 รวมทั้งมีการประสานระหวางสาขาในดานการปฏิบัติมากขึ้น

                        3. วัตถุประสงคของขอมูลความจําเปนพื้นฐาน

                        เพื่อใหประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเปนอยูของตนเองและครอบครัวใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางนอย
                 ผานเกณฑความจําเปนพื้นฐาน โดยมีเครื่องชี้วัดความจําเปนพื้นฐานเปนเครื่องมือ

                        ๔. ประโยชนของขอมูลความจําเปนพื้นฐาน
                            ๔.1 ประชาชน จะไดทราบขอมูลสถานการณคุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัว และสามารถ

                 ปรับปรุงคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นไดดวยตนเอง ตัวอยางเชน การดูแลสุขภาพอนามัย ความเปนอยู และความปลอดภัย
                 ของสมาชิกครัวเรือน ฯลฯ
                            ๔.2 ประชาชน สามารถเขาถึงและไดรับสวัสดิการดานตางๆ จากรัฐ โดยเฉพาะการชวยเหลือ สนับสนุน

                 จากภาครัฐอยางทันทวงที เมื่อไดรับผลกระทบจากสาธารณภัยหรือภัยพิบัติ เพราะไดใหขอมูลของตนเองไวกับ
                 ภาครัฐ
                            ๔.3 ชุมชน โดยคณะกรรมการหมูบาน องคกร หรือกลุมภายในหมูบาน/ชุมชน จะไดทราบและมีขอมูล
                 สถานการณคุณภาพชีวิตของประชาชน ครัวเรือน และหมูบาน/ชุมชนอยางเปนรูปธรรม เพื่อจะไดนําไปใชใน
                 การวางแผน กําหนดกิจกรรมพัฒนาหมูบาน/ชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

                            ๔.๔ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือภาครัฐที่เกี่ยวของ จะไดทราบและมีขอมูลสถานการณคุณภาพ
                 ชีวิตของประชาชน ครัวเรือน ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด ตลอดจนภาพรวมในระดับประเทศ เพื่อนําไปใชกําหนด
                 นโยบายวางแผนปฏิบัติการ กําหนดกิจกรรม เพื่อแกไขปญหาอและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน



                                                                                                             ๕๕
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64