Page 44 - ED 211
P. 44

ว่าภาคอุตสาหกรรมได้พัฒนาและเพิ่มบทบาทในระบบเศรษฐกิจส่วนรวมมากยิ่งขึ้นโดย

                               ล าดับ คือ สัดส่วนผลผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 13.1 ของผลผลิตรวม

                               ของประเทศในปี 2503 เป็นร้อยละ 21.1 ในปี 2524 เมื่อเทียบกับภาคเกษตรซึ่งมีผลผลิต
                               ประมาณร้อยละ 24.8 ในปี 2524 และคาดว่า ในระยะสุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5

                               มูลค่าผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมจะมีสัดส่วนใกล้เคียงกับภาคเกษตร หากได้มีการแก้ไข

                               ปัญหาของประเทศในด้านดุลการค้า  ดุลการช าระเงิน  และเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการ
                               พัฒนาอุตสาหกรรมตามเป้าหมาย นโยบาย และมาตรการที่ก าหนดไว้ในแผนพัฒนา

                               เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 นี้แล้ว เป็นที่เชื่อได้ว่าฐานะเศรษฐกิจของไทยจะก้าว

                               ไปสู่ “ประเทศกึ่งอุตสาหกรรม” อย่างแน่นอน  (หน้า 69)


                               ผลของการพัฒนาที่ผ่านมา  ท าให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศเปลี่ยนจากการพึ่งพา
                   รายได้จากภาคเกษตรกรรมมาเป็นการพึ่งพาภาคอุตสากรรมในการส่งออก  จากตารางที่ 2 จะเห็นได้ว่า

                   โครงสร้างสินค้าออกของประเทศไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 เป็นต้นมา  เป็นสินค้าอุตสาหกรรมร้อยละ

                   71-79   ส่วนการส่งออกสินค้าเกษตรกรรมลดลงอย่างต่อเนื่อง  จนในปี พ.ศ.2543  มีสัดส่วนร้อยละ
                   11.55 และในปีพ.ศ.2558  มีสัดส่วนร้อยละ 9.41  ผลของการพัฒนาประเทศตามแนวทางดังกล่าวยังท า

                   ให้ภาคเกษตรกลายเป็นภาคที่ล้าหลัง  คนส่วนใหญ่มีรายได้ต่ า  บางส่วนมีหนี้สิน  ท าให้เกิดปัญหาความ

                   เหลื่อมล้ าในการกระจายรายได้











































                                                       เอกสารประกอบการสอนรายวิชากระบวนทัศน์ทางการศึกษา พรใจ ลี่ทองอิน | 38
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49