Page 34 - หลักการตลาด
P. 34

การวิเคราะห์ต้นทุนในระยะสั้น (The Short – Run Cost Analysis)
       การวิเคราะห์ต้นทุนในระยะสั้น (The Short – Run Cost Analysis)


                      การผลิตในระยะสั้นใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิดคือ ปัจจัยคงที่ และปัจจัยผันแปร ดังนั้น ต้นทุนการ
       ผลิตในระยะสั้นจึงมี 2 ชนิดคือ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) และต้นทุนผันแปร (Variable Cost) สามารถค านวณหา

       ต้นทุนชนิดต่างๆ ได้ดังนี้


                      ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) ต้นทุนชนิดนี้จะมีจ านวนคงที่ตลอดไม่ว่าปริมาณการผลิตจะ

       มากหรือน้อย แม้จะไม่ท าการผลิตเลยก็จะเกิดต้นทุนคงที่ ต้นทุนประเภทนี้ เช่น ค่าเสื่อมของเครื่องจักร เป็นต้น



                      ต้นทุนผันแปร (Variable Cost : VC) ต้นทุนนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามจ านวนสินค้าที่ผลิต ถ้า
       ผลิตมากจะเสียต้นทุนชนิดนี้มาก และถ้าไม่ผลิตก็ไม่เสียเลย ต้นทุนประเภทนี้ เช่น ค่าจ้างแรงงาน เป็นต้น



                      ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) เป็นต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ
       ในการผลิตสินค้าและบริการจ านวนหนึ่ง ในระยะสั้น ต้นทุนรวมสามารถแสดงได้ดังนี้

                                           TC = TFC + TVC
                      ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) เป็นต้นทุนคงที่ทั้งหมดเฉลี่ยต่อปริมาณ
       ผลผลิต 1 หน่วย หรือ



       ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) เป็นต้นทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยต่อปริมาณผลผลิต 1

       หน่วย หรือ
                                                     TVC
                                              AVC =
                                                       Q



       ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) เป็นต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยต่อปริมาณผลผลิต 1 หน่วย หรือ

       นอกจากนี้ยังสามารถหาได้จาก AC = AFC + AVC

                                                     TC
                                               AC =
                                                      Q


       ต้นทุนเพิ่มหรือต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost : MC) เป็นการเปลี่ยนแปลงของ

       ต้นทุนรวมเมื่อปริมาณผลผลิตเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย หรือ


                                                      TC
                                              MC =
                                                      Q
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39