Page 2 - แผนการเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก (AC)
P. 2
ASSUMPTION
COLLEGE
ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ.1901) คณะเซนต์คาเบรียลได้ส่งคณะภราดา 5 ท่านมายัง
ประเทศไทย เพื่อสานต่อเจตนารมณ์ของคุณพ่อกอลมเบต์ซึ่งชราภาพได้แก่ ภราดามาร์ติน เดอตูรส์ (อธิการคน
โรงเรียนอัสสัมชัญ ตั้งอยู่ที่ 26 ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก ที่ 2) ภราดาอาแบล ภราดาออกูส ภราดาคาเบรียล ฟาเร็ตตี และหนึ่งในนั้น ได้แก่ ภราดาฮีแลร์ โดยได้เข้า
กรุงเทพมหานคร ถือกำาเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2420 โดยบาทหลวงเอมิลกอลมเบต์ ชาวฝรั่งเศส เจ้าอาวาสวัด มาสานต่องานด้านการ ศึกษา โรงเรียนนี้ถือเป็นโรงเรียนแรกในเครือมูลนิธิฯ ที่รับเฉพาะนักเรียนชาย ต่อมาในปี
อัสสัมชัญ (ผู้ก่อตั้งโรงเรียน) ด้วยความใฝ่ฝันที่จะต่อสู้กับการปล่อยปละละเลยในเรื่องการศึกษา และความโง่ พ.ศ. 2453 (ค.ศ.1910) โรงเรียนได้เปลี่ยนชื่อจาก โรงเรียนอาซัมซานกอเล็ศ เป็น “โรงเรียนอัสสัมชัญ” และ โดย
เขลาของเด็ก ๆ ในละแวกวัดในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ.1877) บาทหลวงเอมิลกอลมเบต์ จึงตั้งโรงเรียนวัดชื่อโรงเรียน ใช้อักษรย่อ อสช หรือ AC โดยยังคงความหมายเดิม ซึ่งหมายถึง ตำาแหน่งสำาหรับระงับบาป และหาวิชาความรู้
ไทย - ฝรั่ง เพื่อสอนภาษาฝรั่งเศส และภาษาไทย ในวันแรกมีนักเรียน 12 คน สมัยนั้นเยาวชนทั้งหลายมิได้นำาพา เมื่อมีนักเรียนเพิ่มมากขึ้นทำาให้ตึกเรียนไม่เพียงพอกับความ ต้องการของผู้ปกครองและศิษย์เก่า ทาง
เอาใจใส่ต่อการเรียนส่วนใหญ่ มุ่งแต่จะเที่ยวเล่นไปตามลำาคลองเท่านั้น แต่บาทหลวง กอลมเบต์เห็นการณ์ไกล คณะภราดาเซนต์คาเบรียล จึง ได้มีมติให้ก่อตั้ง โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ขึ้นเมื่อปี พ.ศ 2508 ณ บ้าน
ไม่ท้อถอย สองปีต่อมาท่านจึงเปิดสอนภาษาอังกฤษเพิ่มอีกหนึ่งภาษา จนกระทั่งวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2428 เลขที่ 90/1 ซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร จังหวัด กรุงเทพฯ บนเนื้อที่ 5 ไร่ 4 งาน ทั้งนี้ โรงเรียน
(ค.ศ.1885) โรงเรียนได้เปิดอย่างเป็นทาง การใช้ชื่อว่า “โรงเรียนอาซัมซานกอเล็ศ” โดยใช้เรือนไม้หลังใหญ่ซึ่ง เปิดโครงการการเรียนการสอนตามหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) ในปี
เคยเป็นที่พักของเณรคาทอลิกให้เป็นอาคารเรียนหลังแรก และขอร้องให้ผู้ปกครองนำาบุตรหลานมาเรียนวันแรก พ.ศ. 2544 เพื่อเป็นทางเลือกสำาหรับนักเรียนที่สนใจ
มีนักเรียนนับจำานวนได้ 33 คน จนถึงสิ้นปีมีนักเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 80 คน ในปีต่อมา มีจำานวนนักเรียนทั้งสิ้น ตลอดระยะเวลาที่โรงเรียนเปิดทำาการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2428 จนถึงปัจจุบันย่อมเป็นที่ประจักษ์
130 คน เมื่อจำานวนนักเรียนเพิ่มขึ้นและโรงเรียนเริ่มเป็นที่รู้จักของประชาชนมากขึ้น ท่านจึงขยายโรงเรียนโดย แก่สังคมว่านักเรียนอัสสัมชัญสามารถดำาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็นผู้มีความพร้อม ทั้งด้านวิชา
สร้างอาคารเรียนอีกหนึ่งหลังโดยทูลเกล้าถวายฎีกาต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ ความรู้ ความสามารถ สติปัญญา และมีคุณธรรมประจำาใจสามารถประสบความสำาเร็จในวิชาชีพอย่างสง่างาม
พระบรมราชินี อีกทั้งบอกบุญเรี่ยไรไปยังบรรดาเจ้านายพ่อค้าทั้งชาวไทย และชาวต่าง ประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่ง และได้รับใช้ประเทศชาติ ในตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 ท่าน อันได้แก่
ได้รับความช่วยเหลือ ด้านทุนทรัพย์เป็นอย่างดี
ในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1887) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงพระกรุณา ๑. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (เลขประจำาตัว 961)
โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จฯ ทรงวางศิลาฤกษ์ ๒. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช (เลขประจำาตัว 3567)
ตึกเรียนหลังแรก ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ตึกเก่า” ๓. พันตรีควง อภัยวงศ์ (เลขประจำาตัว 2990)
๔. ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์ (เลขประจำาตัว 3570)
โรงเรียนยึดมั่นต่อภาระหน้าที่ที่จะจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพ และมีพื้นฐานที่ดีสำาหรับพัฒนา
ตนเอง ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมโดยมีความรับผิดชอบ ความเสียสละ รักสันติ มีคุณธรรม และ
พร้อมเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสังคมสืบไป
ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุ 134 ปี เป็นโรงเรียนชายที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และเป็น
โรงเรียนโรมันคาทอลิกแห่งแรกของประเทศ มีศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันรวมแล้วกว่าเกือบ 6 หมื่นคน ซึ่งคนที่
จบจากโรงเรียนอัสสัมชัญจะใช้คำาว่า “อัสสัมชนิก”