Page 42 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 42

ห น้ า  | 35



                      3 ในประเทศผูผลิตและสงออกน้ํามันรายใหญหลายราย การผลิตน้ํามันมีโอกาสหยุดชะงักได
               (supply disruption) เพราะเหตุจากความไมสงบทางการเมือง สงคราม  และภัยธรรมชาติ  เหตุการณ

               สําคัญที่บงชี้ถึงปญหานี้ ไดแก การบุกอิรักของกองทัพสหรัฐในป 2546 ทําใหกําลังการผลิตน้ํามันของอิรัก
               ลดลงระดับหนึ่ง และความไมสงบซึ่งยังคงเกิดขึ้นในประเทศหลังจากนั้น ยังเปนอุปสรรคสําคัญตอการผลิต

               และการสงออกน้ํามันของอิรักใหกลับไปสูระดับปกติ

                      ความขัดแยงระหวางอิหรานกับประเทศตะวันตกเกี่ยวกับโครงการพัฒนานิวเคลียรของอิหราน
               (ซึ่งเปนผูผลิตน้ํามันมากเปนอันดับที่ 4 ของโลก) กอใหเกิดความตึงเครียดในภูมิภาคตะวันออกกลางระหวาง

               อิหรานและสหรัฐ โดยอิหรานประกาศวาจะใชน้ํามันเปนอาวุธเพื่อตอบโตมาตรการคว่ําบาตรของสหรัฐ และ

               ในป 2551 ไดมีการเผชิญหนากันระหวางทหารอิหรานและทหารสหรัฐในบริเวณชองแคบฮอรมุซ ซึ่งเปน
               ทางผานสําคัญสําหรับการขนสงน้ํามันจากตะวันออกกลาง

                      พายุเฮอรริเคนในแถบอาวเม็กซิโกในเดือนกันยายน  2548  มีผลกระทบตอแทนผลิตน้ํามันของ
               เม็กซิโก และโรงกลั่นที่ตั้งอยูตอนใตของสหรัฐ มีผลใหราคาน้ํามันเบนซินในสหรัฐเพิ่มสูงขึ้นเปน $3 ตอ

               แกลลอน ซึ่งเปนระดับที่สูงสุดในรอบ 25 ป

                      ผูกอการรายในไนจีเรียคุกคามแหลงผลิตน้ํามันหลายครั้ง ทําใหประมาณการผลิตและสงออกน้ํามัน
               จากไนจีเรียลดลงประมาณ 500,000 บารเรลตอวัน ความขัดแยงทางการเมืองระหวางรัฐบาลเวเนซุเอลา

               และรัฐบาลสหรัฐ ทําใหการนําเขาน้ํามันจากเวเนซุเอลาของสหรัฐมีความเสี่ยงมากขึ้น
                      4 ในหลายประเทศที่สงออกน้ํามันได มีการผลิตน้ํามันในปริมาณที่ลดลงไป เพราะปริมาณสํารอง

               เริ่มมีขอจํากัดมากขึ้น ในขณะเดียวกันความตองการใชน้ํามันในประเทศเหลานี้ก็เพิ่มขึ้นตามการขยายตัว

               ของประชากรและเศรษฐกิจดวย ทําใหหลายประเทศตองลดการสงออกลง เชน อินโดนีเซีย เม็กซิโก
               นอรเวย และอังกฤษ ในระหวางป 2005 ถึง 2006 การบริโภคน้ํามันภายในประเทศผูสงออก 5 อันดับแรก

               คือ ซาอุดิอาระเบีย รัสเซีย นอรเวย อิหราน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเพิ่มสูงขึ้นถึงรอยละ 5.9 และ

               มีปริมาณการสงออกลดลงกวารอยละ 3 เมื่อเทียบกับปกอนหนานี้ หรือในกรณีของอินโดนีเซียที่รัฐบาล
               มีการอุดหนุนผูบริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอุดิอาระเบียที่ราคาน้ํามันเบนซินในประเทศอยูที่

               5 บาทตอลิตร ขณะที่มาเลเซียอยูในระดับ 20 บาทตอลิตร จึงทําใหเกิดการคาดการณวาปริมาณการสงออก

               น้ํามันดิบของประเทศผูสงออกน้ํามันจะลดลงถึง 2.5 ลานบารเรลตอวันภายในชวง 10 ปนี้ เมื่อไมกี่เดือนมา
               นี้ขาววารัฐบาลอินโดนีเซียกําลังพิจารณาจะถอนตัวจากการเปนสมาชิก  OPEC  เพราะอินโดนีเซียจะไม

               สามารถสงออกน้ํามันไดอีกตอไปในอนาคตอันใกลนี้
                      5 นอกจากกําลังการผลิตสวนเกินของน้ํามันดิบจะมีนอย กําลังการกลั่นน้ํามัน ของโลกก็มีปญหาคอ

               ขวด โดยมีสวนเกินนอยกวา 1 ลานบารเรลตอวัน ในขณะเดียวกันตลาดน้ํามันมีแนวโนมตองการใชน้ํามัน

               ชนิดเบาและสะอาดมากขึ้น จึงสรางแรงกดดันใหโรงกลั่นน้ํามันตองลงทุนปรับปรุงคุณภาพอีกดวย ขอจํากัด
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47