Page 20 - รายงาน ปี 61 รูปแบบที่ 1
P. 20
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รูปที่ 7 กิจกรรมกำรสูบทดสอบ
2.5 การติดตั งเครื่องสูบน ้าไฟฟ้า
บ่อน ้ำบำดำลที่พัฒนำเสร็จเรียบร้อยแล้วถือว่ำพร้อมที่จะติดตั งเครื่องสูบ ต้องด้ำเนินกำรทดสอบปริมำณน ้ำ
(Pumping test) เพื่อให้ได้รำยละเอียดเกี่ยวกับปริมำณน ้ำที่จะสูบขึ นมำได้ และเพื่อหำข้อมูลส้ำหรับกำรเลือกใช้
เครื่องสูบให้ถูกต้อง กำรทดสอบแบบธรรมดำท้ำได้โดยกำรหำเครื่องสูบมำสูบน ้ำออกให้ได้มำกที่สุด พร้อมกับวัด
ระดับน ้ำในบ่อก่อนที่จะสูบ ในขณะสูบ และหลังจำกหยุดสูบ ตัวเลขที่ได้เอำไปค้ำนวณหำขนำดเครื่องสูบได้ เครื่อง
สูบน ้ำบำดำลที่ใช้ในปัจจุบันกับระบบประปำบำดำลส่วนใหญ่ใช้เครื่องสูบน ้ำชนิด Submersible pump ในที่นี จะ
กล่ำวถึงเฉพำะเครื่องสูบน ้ำชนิดนี เท่ำนั น กำรเลือกเครื่องสูบน ้ำให้เหมำะสม จะต้องประกอบด้วย
- ข้อมูลเบื องต้นของบ่อน ้ำบำดำล ควำมลึก ขนำดบ่อน ้ำบำดำล และปริมำณน ้ำ
- ข้อมูลที่ได้จำกกำรสูบทดสอบ ปริมำณน ้ำขณะสูบ ระดับน ้ำปกติ และระยะน ้ำลด
- ควำมต้องกำรใช้น ้ำของประชำกรในพื นที่
- ระบบไฟฟ้ำที่จะท้ำกำรติดตั ง
เครื่องสูบน ้ำแบบ Submersible pump ประกอบด้วย
- มอเตอร์และปั๊ม
- สำยไฟฟ้ำ เทปพันสำยไฟฟ้ำชนิดกันน ้ำ
- ฝำเปิดบ่อพร้อมอุปกรณ์ปำกบ่อ
- ตู้ควบคุมชนิด 2 ชั นกันน ้ำพร้อมอุปกรณ์ควบคุม
- ท่อทำงดูดขนำดตำมควำมเหมำะสมของเครื่องสูบ
หลังจำกได้ข้อมูลจำกกำรทดสอบปริมำณน ้ำแล้ว ขั นตอนต่อไปจะเป็นกำรออกแบบเครื่องสูบน ้ำ (Pump
Design) ซึ่งสำมำรถดูได้จำก Performance Cure ของเครื่องสูบน ้ำ โดยดูจำกอัตรำกำรสูบ และ Total
Hade ของเครื่องสูบแต่ละขนำด โดยน้ำข้อมูลกำรสูบทดสอบมำพิจำรณำหำค่ำ Maximum yield ของบ่อน ้ำบำดำล
โดยให้อัตรำกำรสูบน ้ำไม่เกิน 70 – 80 % ของ Maximum yield ของบ่อน ้ำบำดำลนั น
ส้ำนักทรัพยำกรน ้ำบำดำล เขต 10 อุดรธำนี หน้ำ 16