Page 39 - รายงาน ปี 61 รูปแบบที่ 1
P. 39

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561



               4.6 โรงเรียนบ้านโคกกลาง หมู่ที่ 3 ต้าบลปลาปาก อ้าเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม
                   1. ที่ตั งและลักษณะภูมิประเทศ

                              พื นที่บริเวณโรงเรียนบ้ำนโคกกลำง หมู่ที่ 3 ต้ำบลปลำปำก อ้ำเภอปลำปำก จังหวัดนครพนม
               ตั งอยู่บริเวณพิกัด Zone 48Q UTME 0450316 UTMN 1906417 ระวำงแผนที่ 5943 III ตำมแผนที่ภูมิ
               ประเทศมำตรำส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหำร ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื นที่รำบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอน
               คลื่น มีควำมสูงจำกระดับน ้ำทะเลปำนกลำงประมำณ 170 เมตร
                   2.  ลักษณะทำงอุทกธรณีวิทยำ

                              พื นที่บริเวณโรงเรียนบ้ำนโคกกลำง หมู่ที่ 3 ต้ำบลปลำปำก อ้ำเภอปลำปำก จังหวัดนครพนม
               รองรับด้วยชั นหินให้น ้ำมหำสำรคำม จะปิดทับด้วยชั นบำง ๆ ของกรวดทรำยและดินเหนียวโดยประกอบไปด้วย หิน
               ทรำยแป้ง หินทรำย หินดินดำน บำงส่วนมีหินทรำยเม็ดละเดียด กำรพัฒนำน ้ำบำดำลควรจะมีควำมลึกประมำณ 20

               - 40 เมตร ถ้ำลึกมำกกว่ำนี โอกำสที่จะได้น ้ำเค็มจะสูง น ้ำบำดำลจะพบกักเก็บในรอยแตกรอยแยกของชั นหิน
               ปริมำณน ้ำโดยเฉลี่ยจะมี 2-10 ลบ.ม./ชม. หรือสูงมำกกว่ำ 20 ลบ.ม./ชม. คุณภำพน ้ำส่วนใหญ่จืด
                   3.  กำรส้ำรวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีกำรตรวจวัดควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำจ้ำเพำะ
                              คณะส้ำรวจได้ด้ำเนินกำรส้ำรวจธรณีฟิสิกส์ด้วยกำรตรวจวัดควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำจ้ำเพำะ โดยวำง

               ขั วไฟฟ้ำแบบชลัมเบอร์เจอร์ ท้ำกำรส้ำรวจแบบ Soundings จ้ำนวน 10 จุดส้ำรวจ โดยแต่ละจุดส้ำรวจส้ำรวจถึง
               ระยะ AB/2 เท่ำกับ 100 – 150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลควำมลึกของชั นหินแข็ง
                              ข้อมูลที่ได้จำกกำรวัดค่ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำของแต่ละจุดส้ำรวจ จะน้ำมำท้ำกำรค้ำนวณผลเป็นค่ำ
               ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำปรำกฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในกำรส้ำรวจที่จุดส้ำรวจเดียวกัน

               เมื่อท้ำกำรขยำยขั วของกำรปล่อยกระแสไฟฟ้ำกว้ำงออกไป จะได้ค่ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำปรำกฏที่แตกต่ำงกันของขั ว
               ปล่อยกระแสไฟฟ้ำ ซึ่งค่ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำปรำกฏในแต่ละระยะของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้ำจะน้ำมำ plot เป็น
               รูปกรำฟ ซึ่งในกำรแปลควำมหมำยจะน้ำมำเปรียบเทียบเส้นกรำฟ (Matching curve) จำกทฤษฎี โดยกำรจ้ำลองค่ำ
               ควำมหนำชั นต่ำงๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer modeling) จะได้ค่ำควำมลึก ควำมหนำของชั นดินชั นหิน บริเวณ

               ที่ท้ำกำรส้ำรวจ
                              ผลกำรส้ำรวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีกำรตรวจวัดควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำจ้ำเพำะ และกำรศึกษำข้อมูลทำง
               อุทกธรณีวิทยำ สำมำรถแปลควำมหมำยขั นต้นโดยใช้โปรแกรม IPI2WIN ในกำรประมวลผลได้ดังตำรำงที่ 1 และ

               จำกผลกำรแปลควำมหมำยคณะส้ำรวจได้ก้ำหนดจุดที่เหมำะสมในกำรเจำะบ่อน ้ำบำดำล คือจุดส้ำรวจ ที่ KKL1
               ระดับควำมลึกประมำณ 62 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 1















               ส้ำนักทรัพยำกรน ้ำบำดำล  เขต 10 อุดรธำนี                                                  หน้ำ 35
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44