Page 51 - รายงาน ปี 61 รูปแบบที่ 1
P. 51
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
4.12 โรงเรียนบ้านหมูม้น หมู่ที่ 5 ต้าบลตอนเตย อ้าเภอนาทม จังหวัดนครพนม
1.ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่บริเวณโรงเรียนบ้านหมูม้น หมู่ที่ 5 ต าบลดอนเตย อ าเภอนาทม จังหวัดนครพนม ตั้งอยู่
บริเวณพิกัด Zone 48Q UTME 0403095 UTMN 1966250 ระวางแผนที่ 5844 IV ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตรา
ส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอนคลื่น มีความสูงจาก
ระดับน้ าทะเลปานกลางประมาณ 185 เมตร
2.ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยา
พื้นที่บริเวณโรงเรียนบ้านหมูม้น หมู่ที่ 5 ต าบลดอนเตย อ าเภอนาทม จังหวัดนครพนมรองรับด้วย
ชั้นหินให้น้ ามหาสารคาม จะปิดทับด้วยชั้นบาง ๆ ของกรวดทรายและดินเหนียวโดยประกอบไปด้วย หินทรายแป้ง
หินทราย หินดินดาน บางส่วนมีหินทรายเม็ดละเดียด การพัฒนาน้ าบาดาลควรจะมีความลึกประมาณ 20 - 40 เมตร
ถ้าลึกมากกว่านี้โอกาสที่จะได้น้ าเค็มจะสูง น้ าบาดาลจะพบกักเก็บในรอยแตกรอยแยกของชั้นหิน ปริมาณน้ าโดย
เฉลี่ยจะมี 2-10 ลบ.ม./ชม. หรือสูงมากกว่า 20 ลบ.ม./ชม. คุณภาพน้ าส่วนใหญ่จืด
3.การส ารวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ าเพาะ
คณะส ารวจได้ด าเนินการส ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ าเพาะ โดยวาง
ขั้วไฟฟ้าแบบชลัมเบอร์เจอร์ ท าการส ารวจแบบ Soundings จ านวน 10 จุดส ารวจ โดยแต่ละจุดส ารวจส ารวจถึง
ระยะ AB/2 เท่ากับ 100 – 150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั้นหินแข็ง
ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส ารวจ จะน ามาท าการค านวณผลเป็นค่า
ความต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส ารวจที่จุดส ารวจเดียวกัน
เมื่อท าการขยายขั้วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏที่แตกต่างกันของขั้ว
ปล่อยกระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั้วปล่อยกระแสไฟฟ้าจะน ามา plot เป็น
รูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะน ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจ าลองค่า
ความหนาชั้นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั้นดินชั้นหิน บริเวณ
ที่ท าการส ารวจ
ผลการส ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ าเพาะ และการศึกษาข้อมูลทาง
อุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั้นต้นโดยใช้โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่ 1 และ
จากผลการแปลความหมายคณะส ารวจได้ก าหนดจุดที่เหมาะสมในการเจาะบ่อน้ าบาดาล คือจุดส ารวจ ที่ MM1
ระดับความลึกประมาณ 68 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 1
ส้ำนักทรัพยำกรน ้ำบำดำล เขต 10 อุดรธำนี หน้ำ 47