Page 45 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 1
P. 45
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
4.6 โรงเรียนบ้านปากดง หมู่ที่ 11 ต าบลโพนสูง อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
1. ที่ตั งและลักษณะภูมิประเทศ
โรงเรียนบ้านปากดง หมู่ที่ 11 ต าบลโพนสูง อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ตั้งอยู่บริเวณพิกัด Zone 48Q
UTME 0320870 UTMN 1952721 ระวางแผนที่ 5644II ชื่อระวาง อ าเภอบ้านดุง ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน
1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม สภาพดินหนียวปนทราย สภาพป่า
เป็นป่าเบญจพรรณ มีความสูงจากระดับน้ าทะเลปานกลางประมาณ 206 เมตร
2. ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยา
โรงเรียนบ้านปากดง หมู่ที่ 11 ต าบลโพนสูง อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี รองรับด้วยชั้นหินอุ้มน้ าหินชุด
มหาสารคาม ประกอบด้วย หินทรายแป้ง หินทราย หินดินดาน บางส่วนมีหินทรายเม็ดละเอียด และมีเกลือหินอยู่ช่วง
ล่าง น้ าบาดาลอยู่ในรอยแยก รอยแตก รอยต่อระหว่างชั้นหินและบริเวณหินผุ ความลึกของชั้นน้ าบาดาลอยู่ในช่วง
20-50 เม ต ร ถ้ าลึ ก ม าก ก ว่านี้ มี โอ ก าส ได้ น้ าเค็ ม ป ริม าณ น้ าอ ยู่ ใน เก ณ ฑ์ ร ะ ห ว่ าง 2 -1 0
ลบ.ม./ชม. ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้น้อยกว่า 750 ม.ก./ลิตร
3. การส ารวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดความต้านทานไฟฟ้า
คณะส ารวจได้ด าเนินการส ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการวัดความต้านทานไฟฟ้า โดยวางขั้วไฟฟ้าแบบชลัมเบอร์
เจอร์ ท าการส ารวจแบบ Soundings จ านวน 10 จุดส ารวจ โดยแต่ละจุดส ารวจส ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ 100 -
150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั้นหินแข็ง
ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส ารวจ จะน ามาท าการค านวณผลเป็นค่าความ
ต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส ารวจที่จุดส ารวจเดียวกัน เมื่อท า
การขยายขั้วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏที่แตกต่างกันของขั้วปล่อย
แระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั้วปล่อยกระแสไฟฟ้าจะน ามา plot เป็นรูปกราฟ
ซึ่งในการแปลความหมายจะน ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจ าลองค่าความหนา
ชั้นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั้นดินชั้นหิน บริเวณที่ท าการ
ส ารวจ
ผลการส ารวจธรณีฟิสิกส์และศึกษาข้อมูลทางอุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั้นต้นโดยใช้
โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่ 6 และจากผลการแปลความหมายคณะส ารวจได้ก าหนดจุดที่
เหมาะสมในการเจาะบ่อน้ าบาดาล คือจุดส ารวจ SPD-1 ระดับความลึกประมาณ 50-60 เมตร และจุดส ารวจ SPD-1
ระดับความลึกประมาณ 60 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 6
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี หน้า 40