Page 1037 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 1037
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560
ตารางที่ 97-1 ผลการแปลความหมาย บ้านหนองน้ าขุ่น ม. 6 ต.บ้านหยวก อ.น้ าโสม จ.อุดรธานี
ความแข็งของชั น
จุด ความลึก ความหนา Resistivity
ส้ารวจ (เมตร) (เมตร) (Ohm-m) ดิน/หิน การให้น ้า
ที่เจาะผ่าน
NK1 0 0.262 60.7 น้อย ไม่
0.262 2.47 321 ปานกลาง ไม่
2.73 3.77 7720 ปานกลาง ไม่
6.5 18 20.7 น้อย ให้
24.5 INFINITY 33512 มาก ไม่
NK1 จุดเจาะบ่อน ้าบาดาล
รูปที่ 97-2 แผนผังการส ารวจธรณีฟิสิกส์ บ้านหนองน้ าขุ่น ม. 6 ต.บ้านหยวก อ.น้ าโสม จ.อุดรธานี
4. การเจาะและพัฒนาบ่อ
การเจาะบ่อน ้าบาดาล มีวัตถุประสงค์เพื่อน้าน ้าขึ นมาใช้ในการอุปโภค-บริโภค โดยการก้าหนดจุดเจาะจะ
พิจารณาจากข้อมูลธรณีวิทยา และผลการธรณีฟิสิกส์ เพื่อก้าหนดจุดที่เหมาะสม มีชั นน ้าบาดาลที่ให้ปริมาณน ้า
บาดาลมากพอต่อความต้องกันน ้าในการอุปโภค – บริโภค
การเจาะบ่อน ้าบาดาลด้าเนินการเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 12 นิ ว ส้าหรับการเจาะระบบ Direct Rotary
และ 8 นิ วส้าหรับการเจาะระบบ Air Rotary โดยความลึกส้าหรับการเจาะด้วยระบบ Direct Rotary จะเจาะ
ความลึกไม่น้อยกว่า 6 เมตร หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการเจาะบ่อนั นๆ และจนกว่าจะถึงชั นหิน
แข็งส้าหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั งท่อกันพัง จากนั นเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่
ต้องการ การด้าเนินการเจาะบ่อน ้าบาดาล และในขณะท้าการเจาะช่างเจาะจะท้าการเก็บตัวอย่างเศษดิน-หิน
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 3-1018
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล