Page 601 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 601

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560


                   56. บ้านแป้น หมู่ที 10 ต าบลบ้านแป้น อ าเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
                          1. ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
                         บ้านแป้น หมู่ที่ 10 ต้าบลบ้านแป้น อ้าเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร ตั งอยู่บริเวณพิกัด Zone 48Q

                   UTME 285890 UTMN  1912591  ระวางแผนที่ 5843 III ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 ของ
                   กรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอนคลื่น มีความสูงจากระดับน ้าทะเลปาน
                   กลางประมาณ 189 เมตร


                         2. ลักษณะทางอุทกวิทยา
                          บ้านแป้น หมู่ที่ 10 ต้าบลบ้านแป้น อ้าเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร รองรับด้วยชั นหินให้น ้านาหว้า
                   ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ง หินกรวดมน และหินโคลน สีน ้าตาลแดง น ้าบาดาลสะสมในรอยแตกของชั น
                   หิน ปริมาณน ้าอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 10 - 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ปริมาณสารทั งหมดที่ละลายได้ น้อยกว่า

                   500 มิลลิกรัมต่อลิตร

                          3. การส ารวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดความต้านทานไฟฟ้า
                          คณะส้ารวจได้ด้าเนินการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการวัดความต้านทานไฟฟ้า โดยวางขั วไฟฟ้าแบบชลัม

                   เบอร์เจอร์ ท้าการส้ารวจแบบ Soundings จ้านวน 8 จุดส้ารวจ โดยแต่ละจุดส้ารวจส้ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ
                   100-150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั นหินแข็ง
                          ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส้ารวจ จะน้ามาท้าการค้านวณผลเป็นค่าความ

                   ต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส้ารวจที่จุดส้ารวจเดียวกัน
                   เมื่อท้าการขยายขั วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏที่แตกต่างกันของ
                   ขั วปล่อยแระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้าจะน้ามา plot
                   เป็นรูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะน้ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการ
                   จ้าลองค่าความหนาชั นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั นดิน

                   ชั นหิน บริเวณที่ท้าการส้ารวจ
                          ผลการส้ารวจธรณีฟิสิกส์และศึกษาข้อมูลทางอุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั นต้นโดยใช้
                   โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่ 56-1 และจากผลการแปลความหมายคณะส้ารวจได้ก้าหนด

                   จุดที่เหมาะสมในการเจาะบ่อน ้าบาดาล คือจุดส้ารวจ ที่ BP-1 ระดับความลึกประมาณ 50-60 เมตร ดังแสดงใน
                   รูปที่ 56-2



















                            รูปที่ 56-1 การส ารวจธรณีฟิสิกส์ บ้านแป้น ม.10 ต.บ้านแป้น อ.โพนนาแก้ว จ.สกลนคร


                   ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี     3-582
                   กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
   596   597   598   599   600   601   602   603   604   605   606