Page 667 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 667
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560
ตารางที่ 62-1 ผลการแปลความหมาย บ้านป่าหว้าน ม.7 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร
ความแข็งของชั น
ความหนา Resistivity (Ohm-
จุดส้ารวจ ความลึก (เมตร) ดิน/หิน การให้น ้า
(เมตร) m)
ที่เจาะผ่าน
PY1 0 0.5 78.8 ปานกลาง ไม่
0.5 0.9 1146 มาก ไม่
1.4 7.5 54.4 ปานกลาง ไม่
9.04 7.7 6.85 น้อย ไม่
16.8 20.8 49.6 ปานกลาง ไม่
37.7 INFINITY 0.113 น้อย ให้
PY1 จุดเจาะบ่อน ้าบาดาล
รูปที่ 62-2 แผนผังการส ารวจธรณีฟิสิกส์ บ้านป่าหว้าน ม.7 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร
4. การเจาะและพัฒนาบ่อ
การเจาะบ่อน ้าบาดาล มีวัตถุประสงค์เพื่อน้าน ้าขึ นมาใช้ในการอุปโภค-บริโภค โดยการก้าหนดจุดเจาะจะ
พิจารณาจากข้อมูลธรณีวิทยา และผลการธรณีฟิสิกส์ เพื่อก้าหนดจุดที่เหมาะสม มีชั นน ้าบาดาลที่ให้ปริมาณน ้า
บาดาลมากพอต่อความต้องกันน ้าในการอุปโภค – บริโภค
การเจาะบ่อน ้าบาดาลด้าเนินการเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 12 นิ ว ส้าหรับการเจาะระบบ Direct Rotary
และ 8 นิ วส้าหรับการเจาะระบบ Air Rotary โดยความลึกส้าหรับการเจาะด้วยระบบ Direct Rotary จะเจาะ
ความลึกไม่น้อยกว่า 6 เมตร หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการเจาะบ่อนั นๆ และจนกว่าจะถึงชั นหิน
แข็งส้าหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั งท่อกันพัง จากนั นเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่
ต้องการ การด้าเนินการเจาะบ่อน ้าบาดาล และในขณะท้าการเจาะช่างเจาะจะท้าการเก็บตัวอย่างเศษดิน-หิน
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 3-648
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล