Page 809 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 809

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค ประจ้าปีงบประมาณ 2560


                   76. บ้านโคกไม้ล้ม หมู่ที่ 13 ต าบลวาใหญ่ อ าเภออากาศอ านวย จังหวัดสกลนคร
                          1. ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
                         บ้านโคกไม้ล้ม หมู่ที่ 13 ต้าบลวาใหญ่ อ้าเภออากาศอ้านวย จังหวัดสกลนคร ตั งอยู่บริเวณพิกัด Zone

                   48Q UTME 387442 UTMN 1950458 ระวางแผนที่ 5744 II ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 ของ
                   กรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอนคลื่น มีความสูงจากระดับน ้าทะเลปาน
                   กลางประมาณ 162 เมตร


                          2. ลักษณะทางอุทกวิทยา
                          บ้านโคกไม้ล้ม หมู่ที่ 13 ต้าบลวาใหญ่ อ้าเภออากาศอ้านวย จังหวัดสกลนคร รองรับด้วยชั นหินให้น ้าค้า
                   ตากล้า ประกอบด้วยหินทรายเนื อละเอียดและหินทรายแป้ง สีแดงอิฐ เม็ดทรายมีลักษณะเหลี่ยม ส่วนใหญ่
                   ประกอบด้วยเม็ดควอซ์ การวางของชั นเฉียงระดับ น ้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายในรอยแตก รอยแยก รอยต่อ

                   ระหว่างชั นหิน ปริมาณน ้าอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ปริมาณสารทั งหมดที่ละลายได้ น้อย
                   กว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร

                          3. การส ารวจธรณีฟิสิกส์โดยวิธีวัดความต้านทานไฟฟ้า

                          คณะส้ารวจได้ด้าเนินการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการวัดความต้านทานไฟฟ้า โดยวางขั วไฟฟ้าแบบชลัม
                   เบอร์เจอร์ ท้าการส้ารวจแบบ Soundings จ้านวน 8 จุดส้ารวจ โดยแต่ละจุดส้ารวจส้ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ
                   100-150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั นหินแข็ง

                          ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส้ารวจ จะน้ามาท้าการค้านวณผลเป็นค่าความ
                   ต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส้ารวจที่จุดส้ารวจเดียวกัน
                   เมื่อท้าการขยายขั วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏที่แตกต่างกันของ
                   ขั วปล่อยแระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้าจะน้ามา plot
                   เป็นรูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะน้ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการ

                   จ้าลองค่าความหนาชั นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั นดิน
                   ชั นหิน บริเวณที่ท้าการส้ารวจ
                          ผลการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ และการศึกษาข้อมูลทางอุทก

                   ธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั นต้นโดยใช้โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่ 76-1 และ
                   จากผลการแปลความหมายคณะส้ารวจได้ก้าหนดจุดที่เหมาะสมในการเจาะบ่อน ้าบาดาล คือจุดส้ารวจ ที่  KL1

                   ระดับความลึกประมาณ 60-70 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 76-2

















                         รูปที่ 76-1 การส ารวจธรณีฟิสิกส์ บ้านโคกไม้ล้ม ม.13 ต.วาใหญ่ อ.อากาศอ านวย จ.สกลนคร


                   ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี     3-790
                   กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
   804   805   806   807   808   809   810   811   812   813   814