Page 896 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี60
P. 896
โครงการพัฒนาแหล่งน้ําบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําอุปโภค - บริโภค ประจําปีงบประมาณ 2560
ตารางที่ 84-1 ผลการแปลความหมาย บ้านดอนกอก ม. 9 ต. ค่ายบกหวาน อ. เมือง จ. หนองคาย
ความแข็งของชั้น
ความลึก ความหนา Resistivity
จุดสํารวจ ดิน/หิน การให้น้ํา
(เมตร) (เมตร) (Ohm-m)
ที่เจาะผ่าน
DK1 0 0.325 182 ปานกลาง ไม่
0.325 0.612 414 มาก ไม่
0.937 1.61 3.39 น้อย ไม่
2.54 42 751 มาก ไม่
44.5 INFINITY 2.39 น้อย ให้
DK1 จุดเจาะบ่อนํ้าบาดาล
รูปที่ 84-2 แผนผังการสํารวจธรณีฟิสิกส์ บ้านดอนกอก ม. 9 ต. ค่ายบกหวาน อ. เมือง จ. หนองคาย
4. การเจาะและพัฒนาบ่อ
การเจาะบ่อน้ําบาดาล มีวัตถุประสงค์เพื่อนําน้ําขึ้นมาใช้ในการอุปโภค-บริโภค โดยการกําหนดจุดเจาะจะ
พิจารณาจากข้อมูลธรณีวิทยา และผลการธรณีฟิสิกส์ เพื่อกําหนดจุดที่เหมาะสม มีชั้นน้ําบาดาลที่ให้ปริมาณน้ํา
บาดาลมากพอต่อความต้องกันน้ําในการอุปโภค – บริโภค
การเจาะบ่อน้ําบาดาลดําเนินการเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 12 นิ้ว สําหรับการเจาะระบบ Direct Rotary
และ 8 นิ้วสําหรับการเจาะระบบ Air Rotary โดยความลึกสําหรับการเจาะด้วยระบบ Direct Rotary จะเจาะ
ความลึกไม่น้อยกว่า 6 เมตร หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะทําการเจาะบ่อนั้นๆ และจนกว่าจะถึงชั้นหิน
แข็งสําหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั้งท่อกันพัง จากนั้นเจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่
ต้องการ การดําเนินการเจาะบ่อน้ําบาดาล และในขณะทําการเจาะช่างเจาะจะทําการเก็บตัวอย่างเศษดิน-หิน
สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี 3-877
กรมทรัพยากรน้ําบาดาล