Page 23 - เศรษฐกิจพอเพียง
P. 23

17




               ตัวอยาง การจดบัญชีครัวเรือน



                วัน เดือน ป  รายการ                   รายรับ       รายจาย      คงเหลือ

                1 ม.ค. 52     ขายผลผลิต                2,500     -               2,500


                5 ม.ค. 52     ซื้อของใช                            500      -  2,000


                7 ม.ค. 52     ซื้อขาวสาร                           300      -  1,700


                10 ม.ค. 52    จายคาน้ํา คาไฟ                     250      -  1,450

                15 ม.ค. 52    ขายผลผลิตทางการเกษตร     1,200      -              2,650


                20 ม.ค. 52    จายคาซื้อปุย                       300      -  2,350

                25 ม.ค. 52    จายคาอาหาร                          200      -  2,150


                              รวม                      3,700     -  1,500  -  2,150




                              รายรับสูงกวารายจาย                               2,150




                       การบันทึกรายรับ - รายจาย หรือการจดบัญชีทั้งของตนเองและครอบครัว มีความสําคัญตอชีวิต
               ของคนไทยเปนอยางยิ่ง ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

               (รัชกาลที่9)  พระราชทานแกคณะบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝาถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระ
               ชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ความวา “...เมื่อ 40 กวาป  มี

               ผูหนึ่งเปนขาราชการชั้นผูนอยมาขอเงิน ที่จริงไดเคยใหเงินเขาเล็ก ๆ นอย ๆ แตเขาบอกวาไมพอเขาก็มาขอ

               ยืมเงิน ขอกูเงินก็บอก..เอาให.. แตขอใหเขาทําบัญชีรายรับ - รายจาย รายรับก็คือ เงินเดือนของเขาและ
               รายรับที่อุดหนุนเขา สวนรายจายก็เปนของที่ใชในครอบครัว...ทีหลัง เขาทํา...ตอมา เขาทําบัญชีมาไม

               ขาดทุน แลวเขาสามารถที่จะมีเงินพอใช เพราะวาบอกใหเขาทราบวามีเงินเดือนเทาไหรจะตองใชภายในเงิน

               เดือนของเขา...”
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28