Page 34 - เศรษฐกิจพอเพียง
P. 34

28



                        2. ชุมชนเขมแข็ง  ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกับการรวมกลุมของชาวบาน  ทั้งนี้กลุมชาวบาน

               จะทําหนาที่เปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตาง ๆ  ใหหลากหลายครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบ
               ผสมผสาน  หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจการคาขาย การทองเที่ยวระดับชุมชน ฯลฯ เมื่อ

               องคกรชาวบานเหลานี้ไดรับการพัฒนาใหเขมแข็ง และมีเครือขายที่กวางขวางมากขึ้นแลว เกษตรกรใน
               ชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเพิ่มขึ้น  รวมทั้งการไดรับการแกปญหาในทุกดาน  เมื่อเปนเชนนี้
               เศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศก็สามารถเติบโตไปไดอยางมีเสถียรภาพ

                        3. ความสามัคคี  ทฤษฎีใหมตั้งอยูบนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความ
               สามัคคีของสมาชิกในชุมชน ในการรวมมือรวมใจเพื่อประกอบอาชีพตาง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จประโยชนที่
               เกิดขึ้นจึงมิไดหมายถึงรายไดแตเพียงดานเดียว หากแตรวมถึงประโยชนในดานอื่น ๆ ดวย ไดแก การสราง

               ความมั่นคงใหกับสถาบันครอบครัว สังคม  ชุมชน และความสามารถในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
               สิ่งแวดลอม
                        ตัวอยางการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎีใหม  ซึ่งเปน

               แนวทางในการพัฒนาดานการเกษตรอยางเปนขั้นตอนในพื้นที่ที่เหมาะสม ซึ่งแบงเปน 3 ขั้นดังนี้ *
               กรณีตัวอยาง ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางที่ปลูก ชีวิตอยูไดอยางยั่งยืน  *
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39