Page 2 - ebook history
P. 2

¤íÒ¹íÒ







                       สงครามเย็น เปนสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหาร

        หลังสงครามโลกครั้งที่สองระหวางประเทศกลุมตะวันตก (สหรัฐอเมริกา

        พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศกลุมตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตร


        ในสนธิสัญญาวอรซอ) นักประวัติศาสตรยังไมตกลงกันทั้งหมดวาสงครามเย็นคือ

        ชวงใดกันแน แตสวนใหญถือ ค.ศ. 1947–1991 สงครามเย็นไดชื่อวา "เย็น"


        เพราะไมมีการสูรบขนาดใหญโดยตรงระหวางสองฝาย แมมีสงครามในภูมิภาค

        สําคัญ ๆ ที่เรียก สงครามตัวแทน ในประเทศเกาหลี เวียดนามและอัฟกานิสถาน


        ซึ่งทั้งสองฝายสนับสนุนก็ตาม สงครามเย็นแบงแยกพันธมิตรยามสงคราม

        ชั่วคราวเพื่อตอกรกับนาซีเยอรมนี ซึ่งสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาผงาดเปน


        อภิมหาอํานาจโดยมีขอแตกตางทางเศรษฐกิจและการเมืองอยางลึกล้ํา คือ

        สหภาพโซเวียตเปนรัฐลัทธิมากซ–เลนินพรรคการเมืองเดียว และสหรัฐอเมริกา


        เปนรัฐทุนนิยมที่มีการเลือกตั้งเสรีโดยทั่วไป กลุมเปนกลางที่ประกาศตนกําเนิด

        ขึ้นดวยขบวนการไมฝกใฝฝายใดซึ่งประเทศอียิปต อินเดีย อินโดนีเซียและ

        ยูโกสลาเวียกอตั้ง กลุมแยกนี้ปฏิเสธการสมาคมกับทั้งกลุมตะวันตกและกลุม


        ตะวันออก สองประเทศมหาอํานาจไมเคยประจัญในการตอสูดวยอาวุธเต็มขั้น

        แตตางฝายตางสั่งสมอยางหนักเตรียมรับสงครามโลกนิวเคลียรแบบสุดตัวที่อาจ


        เกิดขึ้น ตางฝายมีสิ่งกีดขวางนิวเคลียรซึ่งกีดขวางการโจมตีของอีกฝาย บน

        พื้นฐานวาการโจมตีนั้นจะนําไปสูการทําลายลางฝายโจมตีอยางสิ้นซาก คือ ลัทธิ


        อํานาจทําลายลางซึ่งกันและกัน นอกเหนือจากการพัฒนาคลังนิวเคลียรของสอง

        ฝาย และการวางกําลังทหารตามแบบแลว การตอสูเพื่อครองความเปนใหญยัง

        แสดงออกมาผานสงครามตัวแทนทั่วโลก การสงครามจิตวิทยา การโฆษณาชวน


        เชื่อและจารกรรม และการแขงขันทางเทคโนโลยี เชน การแขงขันอวกาศ
   1   2   3   4   5   6   7