Page 2 - การเกิดปิโตรเลียม
P. 2

15

                 1. แหล่งกักเก็บปิโตรเลียมที่เกิดจากโครงสร้างทางธรณีวิทยา (Structural Trap) ( ต่อ )
                        1.2  ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมโครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน  (Fault  Trap)เกิดจากการหักงอของชั้นหิน
                 ท าให้ชั้นหินเคลื่อนไปคนละแนว  ซึ่งท าหน้าที่ปิดกั้นการเคลื่อนตัวของปิโตรเลียมไปสู่ที่สูงกว่า  แหล่งน้ ามันและก๊าซ

                 ธรรมชาติในประเทศไทยมักพบในโครงสร้างกักเก็บชนิดนี้













                                     ภาพที่ 1.8 ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมโครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน
                         ( ที่มา : http://irrigation.rid.go.th/rid14/water/library/shelf/data/page/science/science _ 16.html)


                        1.3  ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมโครงสร้างรูปโดม  (Salt  Dome  Trap)เกิดจากชั้นหินถูกดันให้โก่งตัวด้วยแร่
                 เกลือจนเกิดลักษณะคล้ายกับโครงสร้างกระทะคว่ าอันใหญ่ และปิโตรเลียมจะมาสะสมตัวในชั้นหินกักเก็บฯ บริเวณ

                 รอบๆ โครงสร้างรูปโดม ตัวอย่างเช่น แหล่งน้ ามันในอ่าวเปอร์เซีย และตอนกลาง ของประเทศโอมาน เป็นต้น



























                                       ภาพที่ 1.9 ชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมโครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน
                           ( ที่มา : http://irrigation.rid.go.th/rid14/water/library/shelf/data/page/science/science _ 16.html)
   1   2   3