Page 265 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 265
264
สิ่งที่น าพลังงานไฟฟ้ าจากแหล่งก าเนิดพลังงานไฟฟ้ าไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้านและโรงงาน
อุตสาหกรรม ก็คือ กระแสไฟฟ้ า เราส่งกระแสไฟฟ้ าไปยังที่ต่างๆได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้ าไปตาม
สายไฟฟ้าซึ่งท าด้วยสาร ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้
พลังงานชีวมวล
พืชทั้งหลายในโลกเราก่อเกิดขึ้นมาได้ล้วนแต่อาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์ พืชท าหน้าที่
เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์แล้วเก็บสะสมไว้เพื่อการด ารงชีพและเป็นส่วนประกอบส าคัญที่ก่อให้เกิด
การเจริญเติบโตตามส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ล าต้น ใบ ดอกไม้ และผล ขบวนการส าคัญที่เก็บ
สะสมพลังงานแสงอาทิตย์นี้เรียกกันว่ากระบวนการสังเคราะห์แสงโดยอาศัยสารคลอโรฟิ ลล์
(Chlorophyll) บนพืชสีเขียวที่ท าตัวเสมือนเป็นโรงงานเล็ก ดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( ) จาก
อากาศ และน ้า ( ) จากดินมาท าปฏิกิริยากันแล้วผลิตเป็นสารประกอบกลุ่มหนึ่งขึ้นมา เช่น น ้าตาล
แป้ ง และเซลลูโลส ซึ่งเรียกรวม ๆ ว่าคาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) พลังงานแสงอาทิตย์นี้จะถูกสะสม
ในรูปแบบของพันธเคมี (Chemicalbonds) ของสารประกอบเหล่านี้
สัตว์ทั้งหลายมีทั้งกินพืชและสัตว์ มนุษย์กินพืช และสัตว์การกินกันเป็นทอด ๆ (ห่วงโซ่อาหาร)
ของสิ่งมีชีวิต ท าให้มีการถ่ายทอดพลังงานเคมีจากพืชไปสู่สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ซึ่งอาจกล่าวโดย
สรุปคือ การท างานของสิ่งมีชีวิตโดยพื้นฐานล้วนอาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์และการเจริญเติบโตของ
สิ่งมีชีวิตก็เป็นแหล่งสะสมพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์อีกเช่นกัน
พลังงานชีวมวลก็ คือ พลังงานที่สะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่สามารถน ามาใช้ท างานได้ เช่น ต้นไม้ กิ่ง
ไม้ หรือเศษวัสดุจากการเกษตรหรืออุตสาหกรรม เช่น แกลบ ฟาง ชานอ้อย ขี้เลื่อย เศษไม้ เปลือกไม้ มูล
สัตว์ รวมทั้งของเหลือหรือขยะจากครัวเรือนมนุษย ํ์เราได้ใช้พลังงานจากชีวมวลมาเป็นเวลานานแล้ว
จนถึงปัจจุบันก็ยังมีการน ้ามาใช้ประโยชน์ในสัดส่วนที่ไม่น้อยเลยโดยเฉพาะประเทศที่ก าลังพัฒนาอย่าง
บ้านเราตามชนบทก็ยังมีการใช้ไม้ฟืนหรือถ่านในการหุงหาอาหาร
พลังงานทดแทน
พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่น ามาใช้แทนน ้ามันเชื้อเพลิง สามารถแบ่งตามแหล่งที่
ได้มากเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป อาจเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง
ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หินน ้ามัน และทรายน ้ามัน เป็นต้น และพลังงานทดแทนอีก
ประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน
ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น ้า และไฮโดรเจน เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะศักยภาพ และ
สถานภาพการใช้ประโยชน์ของพลังงานทดแทน การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา
ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่
สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม
แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ