Page 184 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 184

184 | ห น า



                  ตัวอยาง “แมเปนโสมสองหลา”  “สุจริตคือเกราะบังศาสตรพอง”
                         โวหารอธิพจน  เปนโวหารที่กวีกลาวเกินจริง เพื่อตองการที่จะเนนใหความสําคัญและอารมณ

                  ความรูสึกที่รุนแรง  เชน



                         ถึงตองงาวหลาวแหลนสักแสนเลม              ใหติดเต็มตัวฉุดพอหลุดถอน
                         แตตองตาพาใจอาลัยวอน               สุดจะถอนทิ้งขวางเสียกลางคัน

                                                      (นิราศวัดเจาฟา  สุนทรภู)


                         บุคลาธิษฐาน   เปนโวหารที่นําสิ่งไมมีชีวิต   หรือสิ่งที่เปนนามธรรม   มากลาวเหมือนเปน

                  บุคคลที่มีชีวิตเชน

                         เพชรน้ําคางหลนบนพรมหญา           เย็นหยาดฟาพาฝนหลงวันใหม
                         เคลาเคลียหยอกดอกหญาอยางอาลัย     เมื่อแฉกดาวใบไผไหวตะวัน



                         โวหารสัทพจน  หมายถึง  โวหารที่เลียนเสียงธรรมชาติ  เชน

                         ทั้งกบเขียดเกรียดกรีดจังหรีดเรื่อย    พระพายเฉื่อยฉิวฉิววะหวิวหวาม

                  การสรางอารมณ


                         ความงามดานอารมณ  เมื่อเราอานวรรณคดี  จะเห็นวาเรามีความรูสึกหรืออารมณรวมไปกับ

                  เรื่องตอนนั้นๆ ดวย เชน สงสาร โกรธ ชิงชัง นันแสดงวากวีไดสรางอารมณใหเรามีความรูสึกคลอย

                  ตาม   ซึ่งเปนความงามอยางหนึ่งในวรรณคดี    กวีจะสอดแทรกความคิดออกมาในรูปของความรัก
                  ความภาคภูมิใจ  ความเศราสลดใจ  และมีการเลือกสรรคําประพันธใหเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง การที่กวี

                  ใชถอยคําใหเกิดความงามเกิดอารมณทําใหเราไดรับรสวรรณคดีตางๆ

                  รสวรรณคดี


                         รสวรรณคดีของไทยเปนลีลาของบทประพันธอยางหนึ่ง คือ การใชภาษาไทยใหเหมาะสมแก

                  เนื้อความของเรื่อง  กลาวคือแตงบทประพันธตามรสบทประพันธไทยหรือรสวรรณคดีไทยซึ่งมี 4 รส

                         1.  เสาวรจนี  เปนบทพรรณนาความงามของสถานที่  ธรรมชาติ  ชมนาง  เชน
                           “ตาเหมือนตามฤคมาศพิศคิ้วพระลอราช

                           ประดุจแกวเกาทัณฑ  กงนา

                           พิศกรรณงามเพริศแพรวกลกลิ่นบงกชแกว
                           อีกแกมปรางทอง  เปรียบนา”

                         2.  นารีปราโมทย  เปนบทเกี้ยวพาราสี  แสดงความรักใคร  เชน
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189