Page 11 - 400ปีกล้องโทรทรรศน์
P. 11
ข้อบกพร่องของกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
กล้องโทรทรรศน์ในช่วงแรกมีข้อจ�ากัด 2 ข้อ ข้อแรก คือ ความผิดปกติของทรงกลม และ
ความคลาดสี ความผิดปกติรูปทรงกลมเป็นสาเหตุท�าให้ได้ภาพที่ไม่ชัด หรือท�าให้ภาพเบลอ เกิด
จากรูปร่างของเลนส์เอง ท�าให้เกิดแสงสะท้อนในล�ากล้องลงมาที่โฟกัส ความคลาดสีท�าให้ภาพที่
ได้ขอบเบลอและที่ขอบของวัตถุเกิดเป็นสีรุ้ง
ปัญหาที่ 2 ก�าลังขยายที่เพิ่มมากขึ้นท�าให้การมองเห็นวัตถุ เช่น ดาวเคราะห์และดาวอื่นๆ
ท�าได้ยากมากขึ้นกว่าเดิม ผู้ผลิตกล้องโทรทรรศน์ต้องลดความผิดปกติของการคลาดทรงกลมโดย
เคลือบน�้ามันทินเนอร์ที่ขอบของเลนส์วัตถุ
ศตวรรษที่ 17 ได้มีการแก้ไขเรื่องการคลาดสี ซึ่งเกิดจากรูปร่างของเลนส์วัตถุ และความยาว
ของจุดโฟกัสที่ยาวมาก เมื่อแสงสีขาวผ่านแก้วตัวกลาง ท�าให้เกิดแถบของแสงขึ้น เช่น แถบสีแดง
มากที่สุด และแถบสีน�้าเงินน้อยที่สุด ความยาวของจุดโฟกัสสั้นยิ่งเป็นผลท�าให้เกิดขอบสีที่ชัด
มากขึ้น ดังนั้นคนประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ในศตวรรษที่ 17 เขาชดเชยโดยการท�ากล้องโทรทรรศน์
ของเขาให้ยาวขึ้น และยาวอย่างเหลือเชื่อ
ต่อมากล้องโทรทรรศน์ที่เคพเลอร์ท�าการพัฒนาขึ้นนั้นยังมีปัญหาของ “การคลาดสี (Chromatic
Aberration)” ของแสงอยู่ การคลาดสีเกิดจากระบบการหักเหแสง เนื่องจากแสงสีขาวประกอบ
ด้วยคลื่นแสงสีต่างๆ การหักเหของคลื่นเหล่านี้ผ่านเลนส์จะมีค่าที่แตกต่างกันท�าให้จุดโฟกัสของ
แสงแต่ละสีตกลงที่ต�าแหน่งโฟกัสที่ต่างกัน ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ท�าให้ภาพเกิดสีรุ้ง ดังรูปที่ 10
รูปที่ 10 แสดงการคลาดสี (Chromatic Aberration) ของเลนส์นูน และภาพที่เกิดจากการคลาดสี
400 ปี วิวัฒนาการกล้องโทรทรรศน์ 11