Page 8 - งานเครื่องกลเบื้องต้น
P. 8

3


                       2.1 เครื่องเลื่อยสำยพำนแนวนอน (Horizontal Band Saw) จะมีลักษณะการ ทํางานในแนวนอน ใบ

               เลื่อยจะหมุนวนตัดชิ้นงานทุกฟัน สามารถปรับความเร็วของสายพานได้ เพื่อให้เหมาะสมกับชิ้นงาน การ

               ป้อนตัดชิ้นงานสามารถป้อนตัดด้วยระบบไฮดรอลิก ก่อนนําใบเลื่อย มาใช้จะต้องนํามาตัดให้ได้ความยาวที่

               พอดีกับเครื่องเลื่อยนั้นๆ แล้วทําการเชื่อมต่อให้เป็นวง






















                                            รูปที่ 1.2 เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน





                       2.2 เครื่องเลื่อยสำยพำนแนวตั้ง (Vertical Band Saw) เครื่องเลื่อยสายพานชนิดนี้ ตัวเครื่องจะมี

               ลักษณะในแนวตั้ง สามารถตั้งความเร็วของใบเลื่อยได้เช่นกัน การป้อนตัดจะป้อน ตัดด้วยมือ โดยการป้อน

               ชิ้นงานเข้าหาใบเลื่อย ใบเลื่อย จะมีขนาดให้เลือกใช้หลายขนาดขึ้นอยู่กับลักษณะงาน


                เช่น งานต้องการเลื่อยเป็นแนวโค้งก็ต้องใช้ใบเลื่อยที่มี ขนาดเล็ก

               การเลือกใช้ขนาดใบเลื่อยขึ้นอยู่กับรัศมีงาน ที่จะเลื่อย ว่ามีรัศมีความ


               โค้งมากน้อยเพียงใด ก่อนนํา ใบเลื่อยมาใช้จะต้องนําใบเลื่อยมาตัดให้


               พอดีกับเครื่อง แล้วทําการเชื่อมใบเลื่อยด้วยชุดเชื่อมที่ติดมากับ เครื่องก่อน


               แล้วจึงทําการอบอ่อน (Annealing) ด้วยชุด อบอ่อนที่ติดมากับเครื่อง


               เช่นเดียวกัน เพื่อเป็นการ คลายความเครียดแนวเชื่อมไม่ให้ใบเลื่อยแตกหัก


               ขณะที่ใบเลื่อยดัดโค้งงออยู่บนล้อส่งกําลัง





                                                                                                       รูปที่ 1.3 เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13