Page 2 - Index-1
P. 2

ศิลปประจำชาติ และ เชิดชูเกียรติ
                                          อาจารยจุลทัศน พยาฆรานนท



                          สูจิบัตรโครงการนิทรรศการศิลปะเพื่อจัดหารายไดในการดำเนินงาน

                     โครงการ 45 ปศิลปประจำชาติและเชิดชูเกียรติ อาจารยจุลทัศน พยาฆรานนท



            ที่มาของโครงการ

                คณะศิลปประจำชาติ (นามเดิม) ปจจุบันมีสถานะเปนภาควิชาศิลปประจำชาติ  กอตั้งขึ้นโดย

            อาจารยจุลทัศน พยาฆรานนท เปนหนวยงานสังกัดวิทยาลัยเพาะชาง ประกอบดวย สาขาวิชา

            จิตรกรรมไทย, สาขาวิชาประติมากรรมไทยและสาขาวิชาหัตถศิลป เปนแผนกวิชาที่ดำเนินการ

            จัดการเรียนการสอนมาแลวกวา ๔๕ ป ผลิตสรางบุคคลาการดานการชางไทย ทั้งชางเขียน

            ชางปน งานประณ�ตศิลป งานศิลปะแบบอยางสกุลชางไทยประเพณ�ออกสูสังคมเปนจำนวนมาก

            หลักสูตรการเรียนการสอนเปนการวางรากฐานใหเยาวชนของชาติเปนผูมีความรูและความ

            สามารถในการปฏิบัติงานดานการชางไทยเพื่อการสืบสานวิชาการชางและสรางสรรคผลงานดาน

            ศิลปกรรมไทย โดยเนนใหผูเรียนไดรับประสบการณทั้งดานกระบวนการคิดและการปฏิบัติ

            นักศึกษาจะไดรับประสบการณตรง ไดแก สำรวจ สัมผัส ปฏิบัติจริงและการเขาสูสภาวะการเสริม

            สรางจิตสำนึกในคุณคาของงานศิลปะและวัฒนธรรมที่ไดศึกษาเรียนรู อันเปนการอนุรักษมรดก

            ทางศิลปวัฒนธรรมของบรรพชนใหดำรงอยูกับสังคมไทยตอไปอยางยั�งยืนผลิตผลที่ปรากฏไดรับ

            การยอมรับในวงกวาง ขึ้นชื่อเรื่องงานชางที่มีทักษะ มีฝมือสูงและมีความประณ�ตอยาง

            งานศิลปะไทยแท อีกทั้งยังประสบความสำเร็จในสายงานศิลปนอาชีพ เห็นไดจากกลุมศิษยเกาที่

            ไดรับรางวัลจากการประกวดศิลปะระดับชาติมากมาย อาทิ อาจารยสัญญา สุดล้ำเลิศ(ขาราชการ

            ครูเกษียณ) รศ.ดร.สุวัฒน แสนขัติยรัตน (อ.ประจำคณะศิลปกรรม มทร.ธัญบุรี) ผศ.นิโรจน จรุงจิตวิทวัส

            อาจารยสกล มาลี (อ.ประจำสาขาวิชาจิตรกรรมไทย วิทยาลัยเพาะชาง) นางสาววาสนา สีสัง

            นายวิมล เขียวมากและนายสุรีวัฒน แดงประดับ (ศิลปนอิสระ) เปนอาทิ ซึ�งทั้งหมดลวนเคย

            ไดรับรางวัลจากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวง (จัดโดยมูลนิธิบัวหลวง) และยังมีอีกหลายศิลปน

            ที่ไดรับการยอมรับในวงการศิลปะทั้งในและตางประเทศ นอกจากน�้ภาควิชาศิลปประจำชาติ

            ยังไดรับความไววางใจใหสรางสรรคผลงานฝากไวในงานพระราชพิธีสำคัญๆของชาติหลายครั้ง
                                   ระหวาง วันที่ 3-8 ธันวาคม 2562
            อาทิ การสรางฉากโขนพระราชทาน ในสมเด็จพระนางเจาฯ งานอุนไอรักประจำป ๒๕๖๑-๒๕๖๒
               ณ หองนิทรรศการ 333 แกลเลอรี่ หางสรรพสินคาริเวอรซิตี้
            และงานศิลปกรรมประกอบพระเมรุมาศ ในงานพระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ฯลฯ ซึ�งผลงาน

            ดังที่กลาวไว สรางความภาคภูมิใจใหแกบุคลากรทุกคนและอาจรวมไปถึงสังคมและประเทศชาติ

            เปนอยางมาก
   1   2   3   4   5   6   7