Page 24 - ยุทธวิธีตำรวจ
P. 24

๑๗




                              ËÁÒÂàËμØ
                              - การจับในทาหักขอมือหงาย ใหพลิกมือในวงแคบ

                 เพื่อใหคนรายเจ็บและบังคับลงไดโดยงาย ซึ่งหากยกขึ้นสูงผูถูกจับ
                 อาจหมุนตัวลอดใตแขน แลวใชมืออีกขางหนึ่งตอบโต ทําใหไม
                 สามารถบังคับผูถูกจับลงพื้นได
                              - ระหวางการเดินออมศีรษะเพื่อบังคับใหผูถูกจับ

                 ควํ่าหนาลงพื้น ผูถูกจับกุมอาจขัดขืนและพยายามจะลุกขึ้น ให
                 ผูจับกุมใชมือซายกดบังคับที่หลังมือขวา และนํามือขวามาจับ

                 ที่ศอกของผูถูกจับแลวกดใหแขนเหยียดตรง (รูป ๖.๗)





                              ·‹Ò·Õè ó  ·‹ÒÊÍ´¤ÅŒÍ§á¢¹
                                        ขั้นตอนที่ ๑  ขณะเดินสวนกัน ใชมือซายจับที่มือขวาของผูถูกจับ โดยบิด

                 ใหฝามือหันไปทางดานหลัง นิ้วหัวแมมือของผูจับกุมกดที่โคนนิ้วหัวแมมือของผูถูกจับ เทาซาย
                 อยูขางหนา (รูป ๖.๘)
                                        ขั้นตอนที่ ๒  กาวเทาขวาไปขางหนาพรอมกับสอดแขนขวาเขารักแรขวา

                 ของผูถูกจับ หมุนตัวไปทางขวาพลิกขอมือขวาล็อกที่หัวไหลขวาของผูถูกจับ (รูป ๖.๙)

                                        ขั้นตอนที่ ๓  ออกแรงกดบังคับผูถูกจับลงที่พื้น พับแขนไวบนหลังแลว
                 ใสกุญแจมือ (รูป ๖.๑๐)





















                            รูป ๖.๘                          รูป ๖.๙                       รูป ๖.๑๐



                              ËÁÒÂàËμØ
                              - ในทานี้สามารถที่ใชจับล็อกและควบคุมผูถูกจับไปยังที่ตางๆ ได ถาหากผูถูกจับขัดขืน
                 ผูจับใชวิธีหมุนตัวไปทางขวาออกแรงกดผูถูกจับลงกับพื้น

                              - ในสวนการฝกทานี้ไมแนะนําใหกดลงบนพื้น เพราะอาจทําใหไดรับบาดเจ็บได
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29