Page 101 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 101

๙๔




                                                        หนา ๓
              เลม  ๑๓๒  ตอนพิเศษ  ๙๘  ง           ราชกิจจานุเบกษา                  ๒๙  เมษายน  ๒๕๕๘






                         (๕)  เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
                         (๖)  ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได

              กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
                         ขอ ๘  ค.พ.ศ. มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                         (๑)  จัดทํานโยบาย ยุทธศาสตร และแผนระดับชาติเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการติดตาม

              คนหาย และการพิสูจนศพนิรนาม เสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติใหหนวยงานของรัฐ

              ที่เกี่ยวของนําไปปฏิบัติ
                         (๒)  ใหความเห็นหรือขอเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินการติดตาม
              คนหาย และการพิสูจนศพนิรนาม

                         (๓)  ศึกษาและวิเคราะหปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดําเนินการติดตามคนหายและ
              การพิสูจนศพนิรนามของหนวยงานของรัฐตาง ๆ เพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบการติดตามคนหาย

              และการพิสูจนศพนิรนาม
                         (๔)  กําหนดหลักเกณฑ  วิธีการ  และแบบในการแจง  การจัดเก็บ  การรวบรวม

              และการประสานขอมูลเกี่ยวกับคนหายและศพนิรนามตามระเบียบนี้
                         (๕)  กําหนดแนวทางใหหนวยงานของรัฐถือปฏิบัติ เพื่อประโยชนในการรวบรวมขอมูล

              เกี่ยวกับคนหายและศพนิรนาม
                         (๖)  สนับสนุนและสงเสริมภาคเอกชนและประชาชนใหเขามามีสวนรวมในการติดตาม

              คนหาย และการพิสูจนศพนิรนาม
                         (๗)  แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่ ค.พ.ศ. มอบหมาย

                         (๘)  ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
                         ขอ ๙  การประชุม ค.พ.ศ. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน

              กรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม
                         ในการประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหรอง

              ประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไมมาประชุม
              หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม
                         การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการ

              ลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

                         ขอ ๑๐  การประชุมคณะอนุกรรมการ ใหนําขอ ๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106