Page 177 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 177

๑๗๐



              ¡ÒÃ㪌¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏÊà¡ç쪏áÅлÃСͺÀÒ¾ãºË¹ŒÒ¤¹ÃŒÒÂ

                          เมื่อมีอาชญากรรมเกิดขึ้น เจาหนาที่ตํารวจจะตองตรวจหารองรอยและรวบรวมพยาน

              หลักฐานตางๆ ทั้งที่เปนพยานวัตถุและบุคคล เพื่อที่จะระบุทราบตัวคนราย และติดตามจับกุมมา
              ดําเนินคดีตามขั้นตอนของกฎหมาย วิธีการขั้นตนในการสืบสวนคนหาตัวคนรายนั้น พนักงานสอบสวน
              จะนําผูเสียหายหรือพยานที่พบเห็นและสามารถจดจําลักษณะตําหนิรูปพรรณใบหนาคนรายไดไปยัง
              กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือศูนยพิสูจนหลักฐาน หรือพิสูจนหลักฐานจังหวัด เพื่อดูสารบบ

              ภาพถายคนราย หากไมพบภาพถายของคนราย กองทะเบียนประวัติอาชญากร จะจัดเจาหนาที่ประกอบ
              ภาพใบหนาคนรายตามคําบอกเลาจากการจดจําของผูเสียหายหรือพยาน เพื่อใหหนวยงานเจาของ

              คดีนําไปเปนแนวทางในการติดตามจับกุมคนรายรายนั้นตอไป การสรางภาพใบหนาคนรายจําเปน
              อยางยิ่งที่จะตองดําเนินการในทันทีหลังคดีเกิดขึ้น หากปลอยระยะเวลาใหเนิ่นนานความทรงจําของ
              ผูเสียหายหรือพยานอาจลืมเลือนไปได รวมทั้งจะตองมีความแมนยําและรวดเร็วเพื่อประสิทธิภาพของ
              การติดตามจับกุมคนรายในคดีที่เกิดขึ้น

                          เดิมนั้นเจาหนาที่วาดภาพของ กองทะเบียนประวัติอาชญากร ตองใชความสามารถ
              และประสบการณทั้งดานจิตรกรรมและจิตวิทยา แตก็ตองประสบปญหาซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง

              ตั้งแตความสามารถในการจดจําของผูเสียหายหรือพยาน ปญหาการสื่อความเขาใจระหวางผูบอกเลา
              กับเจาหนาที่ตํารวจ ผูนําขอมูลจากความทรงจําผานการบอกเลานําไปตีความแลวถายทอดลงบนแผน
              กระดาษวาดภาพและปรับแตงจนกวาผูบอกเลาจะยืนยันวาคลายกับคนรายที่ตนพบเห็นมากที่สุด
              บางครั้งภาพที่วาดไปแลวใชไมไดตองวาดใหมบางสวนหรือทั้งภาพซึ่งตองใชเวลานานมาก จนในที่สุด

              ผูเสียหายหรือพยานเกิดความเบื่อหนาย ทําใหไดภาพที่ไมใกลเคียงกับความเปนจริง
                          จากปญหาในการปฏิบัติงานประกอบกับการขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถทางการ

              วาดภาพ จึงไดมีความพยายามนําอุปกรณตางๆ มาชวยในการปฏิบัติงาน เชน การใชแผนใสประกอบ
              ภาพใบหนาคนราย แตยังมีขอบเขตที่จํากัดอยูมาก จนกระทั่งไดมีการนําเทคโนโลยีทันสมัยมาใช
              อยางไดผล คือ การประกอบภาพใบหนาคนรายดวยเครื่องคอมพิวเตอรตามคําบอกเลาจากการจดจําของ
              ผูเสียหายหรือพยาน

                          ระบบคอมพิวเตอรประกอบภาพใบหนาคนราย ซึ่งกําหนดเปนรหัสวา PICASSO
              (POLICE INDENTIKIT COMPUTER ASSISTED SUSPECT SKETCHING OUTFIT)

              ไดเริ่มโครงการขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๓๓ โดยชิ้นสวนจํานวนมากของภาพใบหนาคนรายไดถูกสรางขึ้น
              และบันทึกเปนฐานขอมูลในระบบคอมพิวเตอร
                          ผลจากการนําระบบคอมพิวเตอรประกอบภาพใบหนาคนรายมาใชใน กองทะเบียนประวัติ

              อาชญากร ปรากฏวาไดชวยอํานวยความสะดวกใหกับผูเสียหายหรือพยานในการใหขอมูลกับเจาหนาที่
              ตํารวจไดอยางแมนยํา และทําใหสามารถสนับสนุนเจาหนาที่ตํารวจในการติดตามจับกุมคนรายไดอยาง
              รวดเร็ว อันเปนปจจัยสําคัญยิ่งในการปราบปรามอาชญากรรม

                          ปจจุบัน กองทะเบียนประวัติอาชญากร ไดนําโปรแกรม Photoshop มาใชในการประกอบ
              ภาพใบหนาคนราย ซึ่งเปนโปรแกรมในตระกูล Adobe ที่ใชสําหรับตกแตงภาพถาย ภาพกราฟก
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182