Page 20 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 20
๑๓
ò. á¼¹»ÃзØÉ¡ÃÃÁ
แผนประทุษกรรม (modus operandi) หมายถึง แบบอยางการทุจริตหรือวิธีการกระทําผิด
ของคนราย ทั้งนี้ มิไดหมายถึงแตเพียงวิธีการอยางหนึ่งอยางใดของคนรายที่กระทําไป เพื่อทําลาย
สิ่งกีดกั้น หรือเพื่อใหเขาไปถึงที่เก็บทรัพย เชน การเจาะ งัด ตัด ไข ปนปาย ลวง และสอย เทานั้น
แตหมายถึงพฤติกรรมของคนรายทั้งหมด นับตั้งแตเริ่มดําเนินการ อาจมีการใชเครื่องมือหรืออาวุธ
หรือวิธีการใดๆ ตลอดจนการใชพรรคพวกและยานพาหนะ หรืออุบายเลหกลตางๆ กัน เพื่อชวยให
การทุจริตนั้นสําเร็จผล
แผนประทุษกรรมของคนรายมีมากมายหลายรูปแบบตางๆ กัน การที่จะเกิดรูปแบบใดนั้น
ยอมสุดแลวแตรูปคดี สภาพของสถานที่เกิดเหตุ ความรูความชํานาญ ความคิดเห็นของคนรายแตละคน
ซึ่งมีการวิวัฒนาการไปตามยุคตามสมัยและตามความเจริญของบานเมือง
แผนประทุษกรรม นํามาใชครั้งแรกในเมืองไทยเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๒ ซึ่งเปนสมัยที่
พล.ต.ท.พระยาอธิกรณประกาศเปนอธิบดีกรมตํารวจ โดยมี พล.ต.ต.หลวงสนิท ตุลยารักษ เปนผูริเริ่ม
นํามาใชในกิจการตํารวจไทยครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.๒๔๗๒ ซึ่งนับวาทานเปนปรมาจารยในวิชาแผนประทุษกรรม
โดยนําแบบอยางมาจาก ทานเซอรแอทเซอรเลย ซึ่งเปนผูคนคิดการจัดทําแผนประทุษกรรมขึ้น
(กองบัญชาการศึกษา, ๒๕๔๔:๑๐๔)
»ÃÐ⪹¢Í§á¼¹»ÃзØÉ¡ÃÃÁ
ñ. ã¹´ŒÒ¹¡ÒÃÊ׺Êǹ มีประโยชนในการชวยชี้ชองทาง หรือแนะแนวทางการสืบสวน
หาตัวคนราย โดยการนําขอมูลรายละเอียดแผนประทุษกรรมของคนรายที่เกิดขึ้นมาวินิจฉัยเปรียบเทียบ
กับแผนประทุษกรรมของคนรายที่มีประวัติเก็บอยูวา การกระทําอยางนั้นนาจะเปนการกระทํา
ของคนรายแกงใด คนใด เพื่อชวยในการสืบสวนหาตัวคนรายใหอยูในวงแคบเขา
ò. ã¹´ŒÒ¹¡ÒÃÊͺÊǹ ชวยรื้อฟนคดีเกาๆ ที่ยังจับตัวคนรายไมได หากตอมา
ภายหลังจับตัวคนรายไดในคดี ซึ่งมีแผนประทุษกรรมคลายคลึงกับคดีเกาๆ นั้น ก็อาจสันนิษฐานไดวา
นาจะเปนการกระทําของคนรายคนเดียวกันนั้นเอง เพื่อจะไดทําการสอบสวนหาหลักฐานอื่นมาประกอบ
ยืนยันตัวคนรายและนําคดีเกาๆ นั้นมาฟองรองใหศาลลงโทษตอไป
ó. ã¹´ŒÒ¹¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ เพื่อประโยชนในการศึกษารายละเอียด
แผนประทุษกรรมของคนรายที่เกิดขึ้นในรูปแบบตางๆ และมีแนวโนมวาจะเกิดขึ้นอีกตอไปในอนาคต
แลวนํามาใชเปนขอมูลในการพิจารณาวางแผนหาทางปองกันและปราบปรามอาชญากรรมตอไป
เชน แผนประทุษกรรมของคนรายลักทรัพยโดยใชกลอุบายตางๆ คดีฉอโกงบัตรเครดิต และคดีฉอโกง
ประชาชน เปนตน