Page 47 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 47

๔๐



              ô. ¡ÒÃÊʹʋͧ¤¹¾Œ¹â·É ¤¹¾Ñ¡¡ÒÃŧâ·É ¼ÙŒÃŒÒ·ŒÍ§¶Ôè¹

                          กองทะเบียนประวัติอาชญากรและหนวยพิสูจนหลักฐานในสวนภูมิภาค เปนผูจัดทํา
              ประวัติของผูถูกจําคุกและพนโทษออกมาไว  ในกรณีนี้สถานีตํารวจหรือหนวยงานสืบสวนปราบปราม

              ไมตองจัดการรวบรวมขอมูลใหแตประการใด เมื่อมีความจําเปนตองขอตรวจสอบประวัติบุคคลวา
              เคยมีประวัติการถูกจับกุมดําเนินคดีมากอนหรือไม สถานีตํารวจแตละแหงเคยดําเนินคดีกับผูใด
              ฐานความผิดใด หมายเลขคดีใด มีการสงแผนพิมพลายนิ้วมือทําการตรวจสอบหรือไม ตามหมายเลข

              ประจําแผน   ลายพิมพนิ้วมือเลขใด ผลการตรวจสอบประวัติลายพิมพนิ้วมือพบหรือไมพบประวัติเดิม
              ถาพบเปนบัญชีประวัติหมายเลขใด เพื่อนําขอมูลที่ไดไปประกอบการพิจารณาคดี หรือนําชื่อ-ชื่อสกุล

              ขอตรวจสอบหมายจับซึ่งเปนขอมูลของงานประกาศสืบจับ  ขอตรวจสอบแผนประทุษกรรมซึ่งตามระบบ
              จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับภาพถายคนราย ตรวจสอบประวัติบุคคลพนโทษ การสอดสองพฤติการณ
              ความเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ  ซึ่งเปนวิธีการเริ่มตนของระบบการสอดสองคนพนโทษ  คนพักการ

              ลงโทษ  ผูรายทองถิ่น  รวมทั้งผูยื่นเรื่องราวขออนุญาต-สมัครงาน หนวยงานตางๆ  ที่ตองการตรวจสอบ
              ขอมูลจะมีหนังสือถึง ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร ๑ กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือ หนวยพิสูจน

              หลักฐานสวนภูมิภาค ตามพื้นที่รับผิดชอบดังกลาว
                          เพื่อเปนการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมใหไดผลอยางแทจริง  และชวยใน
              การสืบสวนหาผูกระทําผิดมาลงโทษอยางรวดเร็ว  จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการสอดสอง

              พฤติการณการเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ
                          ภารกิจและหนาที่ของ ฝายทะเบียนประวัติอาชญากร ๑ กองทะเบียนประวัติอาชญากร

                          ๑.  สนับสนุนพนักงานสืบสวน  สอบสวน  โดยใหขอมูลขาวสารของบุคคลพนโทษ
                          ๒.  จัดเก็บประวัติไวเปนสารบบ  เพื่อสนับสนุนขอมูลอยางรวดเร็ว
                          ๓.  ประสานงานกับกรมราชทัณฑ  เรือนจํา  ทัณฑสถานเพื่อใหไดมาซึ่งประวัติของ

              บุคคลพนโทษ  บุคคลพักการลงโทษ  บุคคลที่ไดรับอภัยโทษและบุคคลที่ไดรับวันลดโทษจําคุก
                          ๔.  จัดสงประวัติไปให  สน./สภ.  ที่บุคคลนั้นมีภูมิลําเนาอยู

                          »ÃÐàÀ·¢Í§ºØ¤¤Å¾Œ¹â·É·Õè¨ÐμŒÍ§¤Çº¤ØÁÊʹʋͧã¹Ë¹ŒÒ·ÕèตําÃǨ
                          เมื่อผูกระทําความผิดไดรับโทษจําคุก  และไดรับการพักการลงโทษหรือพนอาญาออกไป
              จากเรือนจําและทัณฑสถานแลว จําเปนอยางยิ่งที่ตํารวจทองที่ที่บุคคลพนโทษจะไปมีภูมิลําเนาอยู

              จะตองคอยสังเกตพฤติการณและการเคลื่อนไหวของผูนั้นหลังจากไดรับขาวสารและขอมูลจาก
              กองทะเบียนประวัติอาชญากร หรือหนวยพิสูจนหลักฐานสวนภูมิภาค ซึ่งบุคคลพนโทษที่จะตอง

              ควบคุมสอดสองพฤติการณและการเคลื่อนไหวในหนาที่ของตํารวจนั้นมีอยู  ๓ ประเภท  คือ
                          ñ. ºØ¤¤Å¾Ñ¡¡ÒÃŧâ·É  หมายถึง ผูตองขังในเรือนจําที่ไดรับโทษไปแลวแตเพียง
              บางสวน แตในขณะที่ถูกคุมขังอยูนั้น ทางกรมราชทัณฑเห็นวาผูนั้นเปนผูที่มีความประพฤติดี  อยูใน

              ระเบียบวินัยของทางราชการ  มีกิริยาวาจาเรียบรอยดี  จึงสั่งใหพักการลงโทษตามกําหนดเวลาที่ทาง
              กรมราชทัณฑกําหนดให  หรือจนกวาจะไดรับการปลดปลอยใหพนโทษไปอยางจริงจัง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52