Page 32 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 32
๒๕
ó. ËÁÒ¨Ѻ
¤ÇÒÁ໚¹ÁÒáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒÃดําà¹Ô¹¡ÒÃà¡ÕèÂǡѺËÁÒ¨Ѻ
ó.ñ ¡ÒèѺ áÅÐ ËÁÒ¨Ѻ
การจับ เปนมาตรการที่สําคัญที่สุดประการหนึ่งในกระบวนการพิจารณาความอาญา
ในการนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ และเปนการกระทําที่กระทบกระเทือนตอสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชนมากที่สุดอยางหนึ่ง การจับกอใหเกิดอํานาจในการควบคุมผูถูกจับ (ป.วิ.อาญา มาตรา ๘๔
และมาตรา ๘๗) ผูจับมีอํานาจ คนตัว ผูถูกจับ และอํานาจอื่นๆ อีกหลายประการ
เพื่อใหการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนใหพนจากการถูกจับตามอําเภอใจ
โดยเจาหนาที่ของรัฐ โดยหลักแลวการจับจะกระทําไดก็ตอเมื่อมีหมายจับ แตสามารถจับโดยไมมีหมาย
เฉพาะกรณีเรงดวน ที่ไมอาจจะรอใหมีการออกหมายไดเสียกอน
ó.ò ÅѡɳТͧËÁÒ¨Ѻ
ในทางปฏิบัติของสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถแยกไดเปน ๒ ลักษณะ ไดแก
๑. หมายจับกรณีรูตัวผูกระทําความผิด แตเรียกหรือจับตัวไมได เมื่อพนักงาน
สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานจนเชื่อวามีเหตุแหงการจะออกหมายจับ เมื่อไดขออนุมัติหมายจับ
ผูกระทําความผิดตอศาลแลว แตพนักงานสอบสวนยังมิไดทําความเห็นควรสงฟองหรือสงไมฟอง
สงไปพรอมกับสํานวนยังพนักงานอัยการ ซึ่งพนักงานสอบสวนตองออกหมายจับ เพื่อดําเนินการ
ทางคดีตอไป
๒. หมายจับกรณีรูตัวผูกระทําความผิด แตเรียกหรือจับตัวไมได เมื่อพนักงาน
สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานจนเชื่อไดวามีเหตุแหงการออกหมายจับ เมื่อไดขออนุมัติหมายจับ
ผูกระทําความผิดตอศาล และพนักงานสอบสวนไดทําความเห็นควรสั่งฟองหรือสั่งไมฟองสงไป
พรอมกับสํานวนยังพนักงานอัยการ ซึ่งเรียกวา หมายจับคดีคางเกา ซึ่งจะตองดําเนินการในคูมือนี้ตอไป