Page 2 - นวัตกรรมดนตรี
P. 2
บทเรียนที่ 1 โน้ตดนตรีพื้นเมือง
การอ่านโน้ตดนตรีพื้นเมือง
การฝึกดนตรีพื้นบ้าน ผู้ฝึกจ าเป็นต้องศึกษาโน้ตดนตรีพื้นบ้านอีสาน การอ่านโน้ตได้ ท าให้ง่ายต่อ
การฝึกหัดเบื้องต้น การอ่านโน้ตพื้นบ้านอีสานใช้หลักการอ่านแบบเดียวกันกับโน้ตไทย มีโครงสร้างดังนี้
1. ห้องเพลง
2. จังหวะ
3. ตัวโน้ต
1. ห้องเพลง การบันทึกตัวโน้ตก าหนดให้ 1 บรรทัด มี 8 ช่อง(ห้องเพลง) โดยแต่ละช่องจะมี
โน้ต 1 – 4 ตัว ดังนี้
ช่องที่ 1 ช่องที่ 2 ช่องที่ 3 ช่องที่ 4 ช่องที่ 5 ช่องที่ 6 ช่องที่ 7 ช่องที่ 8
- - - ด - ร – ร - ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ - - - ซ - ล - ล - ท ท ท ด ด ด ด
2. จังหวะ ก าหนดให้ในแต่ละช่อง (ห้องเพลง) มี 4 จังหวะย่อย ใช้เครื่องหมาย _ แทน 1
เครื่องหมาย _ ท 1
เครื่องหมาย _ ท นท ท น แ ย น ตัวนั้นให้ยาวออกไปอีก
การเคาะจังหวะหรือจังหวะตก จะเคาะจังหวะที่ 4 ดังนี้
2 4
1 3 1
- - - - - - - - - - - - - - - -
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
3. ตัวโน้ต โน้ตที่ใช้บันทึกลายพื้นบ้านอีสาน มี 7 เสียง คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที
ตัวโน้ตที่ใช้บันทึกเสียงดนตรีมี 7 ตัว ดังนี้
1 2 3 4 5 6 7
อักษรย่อโน้ตสากล C D E F G A B
ตรงกับชื่อของตัวโน้ตดังนี้ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที
อักษรย่อแทนชื่อตัวโน้ต ด ร ม ฟ ซ ล ท