Page 15 - JMSD VOL.1 No.1 2016
P. 15
วารสาร มจร การพัฒนาสังคม
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2559
ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ได้ความเชื่อมั่น .886
จากนั้นนำาผลจากการตอบแบบวัดพฤติกรรมพื้นฐาน 9 ด้าน มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์
มีเกณฑ์การพิจารณา มีดังนี้
4 หมายถึง มีพฤติกรรมจริยธรรม หรือแสดงพฤติกรรมดังกล่าวอยู่ในระดับค่อนข้างมาก
3 หมายถึง มีพฤติกรรมจริยธรรม หรือแสดงพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง
2 หมายถึง มีพฤติกรรมจริยธรรม หรือแสดงพฤติกรรมดังกล่าวอยู่ในระดับน้อย
1 หมายถึง มีพฤติกรรมจริยธรรม หรือแสดงพฤติกรรมดังกล่าวอยู่ในระดับไม่ได้ทำาเลย
จากนั้นนำาผลที่ได้มาหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำามาเปรียบเทียบ
ระดับพฤติกรรมจริยธรรมโดยถือเกณฑ์ ดังนี้
ค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 3.67 - 5.00 หมายถึง ระดับพฤติกรรมจริยธรรมระดับค่อนข้างมาก
ค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.34 - 3.66 หมายถึง ระดับพฤติกรรมจริยธรรมระดับปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.00 - 2.33 หมายถึง ระดับจริยธรรมต่ำา
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำาเนินการ ดังนี้
1. น่าแบบสอบถามที่สมบูรณ์ จัดหมวดหมู่ตามลักษณะตัวแปรต้น สำาหรับแบบสอบถามตอนที่ 1
แล้วหาค่าร้อยละ
2. ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าของไลเคิร์ท
(Likert,1967 : 90-95) ซึ่งกำาหนดให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบคำาถามแสดงระดับการปฏิบัติแต่ละข้อคำาถาม
ในระดับหนึ่งเพียง ระดับเดียว คือ ค่อนข้างมาก ปานกลาง น้อย และไม่ได้ทำาเลย โดยมีเกณฑ์ในการให้
คะแนน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ค่าสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ (per-
centage) ค่าเฉลี่ย (mean), ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation), การทดสอบค่า (f - test)
สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล
1. ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมี
จำานวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 67.1 เป็นเพศชาย จำานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 32.6 ส่วน ใหญ่มีอายุ
19 ปี จำานวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 63.5 รองลงมาอายุ 18 ปี จำานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 19.4 การ
ศึกษาของบิดาส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา จำานวน 47 คน คิดเป็นร้อย ละ 27.6 รองลงมา
7