Page 66 - JMSD Vol.1 No.2 - 2016
P. 66
Vol.1 No.2 May - August 2016
Journal of MCU Social Development
place of the community. Followed by the ability of a monk who served in the
propagation of Dharma. Has led the major seminary in the Buddhist community
in deploying effective. he way of life of residents in the community.
Keywords : Roles, Sangcha, Community Development.
บทน�ำ
ในความหมายเชิงนามธรรม “ชุมชน” เป็นค�าที่มีการน�าไปใช้กันอย่างกว้างขวางและ
ใช้ในลักษณะแตกต่างกันออกไป จึงมิอาจกล่าวได้ว่า “ชุมชน” เป็นค�าที่มีความหมายแน่นอน
ตายตัวเพียงประการเดียว การไม่ยึดติดกับความหมายแคบๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดจะช่วยให้เกิด
ทรรศนะอันกว้างขวางในการพิจารณาสิ่งต่างๆ ได้หลายแง่มุมมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษา
แนวคิดและความหมายของชุมชนในทัศนะของการพัฒนาชุมชนก็ควรจะศึกษาถึง ความหมายที่
เป็นรากฐานและเอื้อต่อการปฏิบัติงานร่วมกันกับสมาชิกของชุมชนต่อไปด้วย นอกจากนี้ ชุมชน
ยังหมายถึง องค์การทางสังคมอย่างหนึ่งที่มีอาณาเขตครอบคลุมท้องถิ่นหนึ่งและ ปวงสมาชิก
สามารถบรรลุถึงความต้องการพื้นฐานส่วนใหญ่ได้และสามารถแก้ไขปัญหาส่วนใหญ่ในชุมชนของ
ตนเองได้ (สัญญา สัญญาวิวัฒน์, 2549 : 56) จึงมีการก�าหนดรูปแบบความสัมพันธ์ซึ่งกันและ
กันขึ้น มีองค์กรหรือสถาบันของชุมชนกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทั้งนี้ ชุมชน หมายถึง สังคมขนาดเล็กใน
ชนบทที่ยังไม่พัฒนาหรือสังคมหมู่บ้านที่สมาชิกของสังคมยังมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และ
ยังสามารถรักษาแบบแผนการด�ารงชีวิตบางส่วนได้ และได้ตีความหมายของค�าว่า “ชุมชน” ใน
ระดับเดียวกับค�าว่า “สังคมหมู่บ้าน” ซึ่งเป็นการช่วยให้เข้าใจความหมายของค�าว่า “ชุมชน” ใน
ระดับ “สังคมหมู่บ้าน” ซึ่งเป็นการช่วยให้เข้าใจในความหมายของค�าว่า “ชุมชน” ในลักษณะที่
จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน ทั้งนี้ เพราะค�าว่า “หมู่บ้าน” สื่อความหมายให้
เข้าใจถึงการกระจุกตัวของบ้านหลาย ๆ บ้านหรือหลายครัวเรือนในพื้นที่แห่งหนึ่งหรือในระบบ
นิเวศน์แห่งหนึ่ง และเป็นหน่วยสังคมขนาดเล็กที่สุดที่สมาชิกของสังคมพัฒนาขึ้นตามธรรมชาติ
และต่อมาภายหลังทางราชการอาจจะก�าหนดให้เป็น “หมู่บ้าน” ในความหมายของทางราชการ
จะพัฒนำชุมชนอย่ำงไร
หลักการของการพัฒนาชุมชน ถือว่าเป็นหลักหรือจุดยืนในการด�าเนินงานพัฒนาชุมชน
เพื่อการสร้างสรรค์ความเจริญในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ให้แก่ชุมชนและประเทศชาติ
ในที่สุดและการที่จะสร้างความเจริญให้แก่ชุมชนดังกล่าวนี้ ต้องฝึกอบรมประชาชนให้รู้จักการช่วย
เหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยอาศัยหลักการพอสรุปได้ดังต่อไปนี้ (สนธยา พลศรี,
2547: 45)
1. พิจารณาถึงบริบทของชุมชนเป็นหลักในการเริ่มงาน (Context)
บริบทของชุมชน หมายถึง สภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ซึ่งในการพิจารณานั้น นักพัฒนา
ควรจะพิจารณาอย่างรอบด้าน ทั้งสภาพความเป็นอยู่ทางกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม
58