Page 79 - แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าปี 60
P. 79

เกณฑ์ที่ 2 : ร้อยละของผู้สัมผัสสัตว์ที่ตรวจพบเชื้อพิษสุนัขบ้าได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
               ตามแนวทางเวชปฏิบัติ (ด�าเนินการทุกพื้นที่ที่สัตว์ตรวจพบเชื้อพิษสุนัขบ้า)

               ค�าอธิบาย
                        1. ผู้สัมผัสโรค หมายถึง ผู้ที่ถูกกัด ข่วน เลีย ช�าแหละ หรือรับประทานอาหารที่ปรุงจากสัตว์ที่ตรวจ

               พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า หรือคนที่ตรวจพบว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า
                        2. ได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตามแนวทางเวชปฏิบัติ หมายถึง ได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษ
               สุนัขบ้าและอิมมูโนโกลบุลิน ตามระดับความเสี่ยง
                          -  สัมผัสครั้งแรก : IM ครบ 5 เข็ม หรือ ID เข็ม

                          -  สัมผัสซ�้า : ภายใน 6 เดือน ฉีด 1 เข็ม หรือเกิน 6 เดือน ฉีด 2 เข็ม
               สูตรการค�านวณ
               ร้อยละของผู้สัมผัสโรคที่ได้รับการฉีดวัคซีนอย่างถูกต้อง    =  จ�านวนผู้สัมผัสโรคที่ได้รับวัคซีนครบชุด  X  100

                                                                          จ�านวนผู้สัมผัสโรคทั้งหมด
                                                               =  ร้อยละ....................
                        ทั้งนี้ ให้ด�าเนินการและรายงานตามแบบฟอร์มการค้นหาติดตามผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าเพื่อเข้ารับการ

               ฉีดวัคซีนป้องกันหลังสัมผัสโรค (Post-Exposure prophylaxis) ดังภาคผนวก 3
               กลไกการติดตามประเมินผล
                        -  ติดตามประเมินความก้าวหน้าการด�าเนินโครงการตามแผนในทุกยุทธศาสตร์ โดยใช้กลไกการตรวจ
               ราชการแบบบูรณาการของส�านักนายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และผู้ตรวจราชการ

               กรุงเทพมหานคร
                        -  ติดตามผลการด�าเนินงานระบบปกติ โดยผนวกในภารกิจพื้นฐานของผู้ตรวจราชการกระทรวง
               สาธารณสุข (สสจ.) และคณะผู้นิเทศงานของกรมควบคุมโรค (สคร.)

               ขั้นตอนการรายงานข้อมูลความก้าวหน้าการด�าเนินโครงการฯ
                        1. ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ
                          -  ประสาน ติดตาม รวบรวม และรายงานผลการด�าเนินงาน ส่งมายังส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด

                        2. ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด
                          -  ประสาน ติดตาม รวบรวม และรายงานผลการด�าเนินงานภาพรวมของจังหวัด ส่งมายังส�านักงาน
                            ป้องกันควบคุมโรค
                        3. ส�านักงานป้องกันควบคุมโรค

                          -  ประสาน ก�ากับติดตาม และประเมินผลการด�าเนินงานของจังหวัดที่รับผิดชอบ
                          -  สรุปรายงานผลการด�าเนินโครงการฯ เป็นภาพรวมของเขต ส่งมายังส�านักโรคติดต่อทั่วไป
                            กรมควบคุมโรค
                        4. ส�านักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

                          -  ประสาน ก�ากับติดตาม และประเมินผลการด�าเนินงานของส�านักงานป้องกันควบคุมโรค
                          -  วิเคราะห์และสรุปผลความก้าวหน้าการด�าเนินงานโครงการฯ เป็นภาพรวมทั้งประเทศ เสนอต่อ
                            คณะกรรมการขับเคลื่อนการด�าเนินโครงการฯ ต่อไป









         74  แนวทางการดำาเนินงานป้องกันควบคุม
               โรคพิษสุนัขบ้า
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84