Page 28 - การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2
P. 28

20

               กระบวนการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ มีทั้งขอดีและขอจํากัด ดังนี้




                 ขอดีของการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ         ขอจํากัดของการผลิตไฟฟาดวยกาซธรรมชาติ


                1.  มีการเผาไหมสมบูรณจึงสงผลกระทบ    1.  ปริมาณสํารองของกาซธรรมชาติใน

                   ตอสิ่งแวดลอมนอยกวาเชื้อเพลิงฟอสซิล        อาวไทยเหลือนอย บางสวนตองนําเขา


                   ประเภทอื่น ๆ                                  จากตางประเทศ

                2.  มีประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟาสูง  2.  ราคากาซธรรมชาติไมคงที่ ผูกติดกับราคา

                   สามารถผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง             น้ํามัน


                3. มีตนทุนในการผลิตไฟฟาต่ํา                3. ปลอยกาซเรือนกระจก



               ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน

                         พลังงานทดแทน (Alternative  Energy) ตามความหมายของกระทรวงพลังงาน คือ


               พลังงานที่นํามาใชแทนน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งจัดเปนพลังงานหลักที่ใชกันอยูทั่วไปในปจจุบัน พลังงาน

               ทดแทนที่สําคัญ ไดแก พลังงานน้ํา พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพิภพ

               พลังงานจากชีวมวล และพลังงานนิวเคลียร เปนตน


                         1. ความสําคัญของพลังงานทดแทน

                            ปจจุบันทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทย กําลังเผชิญกับปญหาดานพลังงานเชื้อเพลิง

               ฟอสซิล เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน ทั้งในดานราคาที่สูงขึ้น และปริมาณที่ลดลง


               อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ปญหาสภาวะโลกรอนซึ่งสวนหนึ่งมาจากการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มากขึ้น

               อยางตอเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการกระตุนใหเกิดการคิดคน


               และพัฒนาเทคโนโลยีที่ใชพลังงานชนิดอื่น ๆ ขึ้นมาทดแทน  ซึ่งพลังงานทดแทนเปนพลังงาน

               ชนิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจ และภาครัฐไดมีนโยบายสงเสริมใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีดาน


               พลังงานทดแทนอยางกวางขวางในประเทศ เนื่องจากเปนพลังงานที่ใชแลวไมทําลายสิ่งแวดลอม

                         2. ประเภทของพลังงานทดแทน

                            พลังงานทดแทนมีหลายประเภท ซึ่งแตละประเภท มีหลักการทํางานแตกตางกันไป


               ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานไดแบงประเภทของพลังงานทดแทนตามแหลงที่มาออกเปน 2 ประเภท คือ

                            2.1 พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เปนพลังงานทดแทนจากแหลงที่ไดมาแลว

               ใชหมดไป เชน ถานหิน กาซธรรมชาติ พลังงานนิวเคลียร เปนตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33