Page 40 - การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2
P. 40
32
ซึ่งกรมชลประทานไดกําหนดมาตรฐานไวที่อุณหภูมิ 33 องศาเซลเซียส กอนปลอยลงสูแหลงน้ํา
ธรรมชาติ
2.2 การจัดการสารเคมีตาง ๆ ที่อยูในน้ํากอนปลอยสูแหลงน้ําธรรมชาติ ทําโดย
การกักน้ําไวในบอปรับสภาพน้ํา เพื่อบําบัดใหมีสภาพเปนกลางและมีการตกตะกอน หรือเติม
คลอรีนเพื่อฆาเชื้อโรค
นอกจากนี้ในโรงไฟฟาควรมีระบบเฝาระวังคุณภาพน้ํา ไดแก การตรวจวัดคุณภาพน้ํา
ที่ระบายออกจากโรงไฟฟาอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวาคุณภาพน้ําที่จะปลอยลงสูแหลงน้ํา
ธรรมชาตินั้นมีคุณภาพอยูในเกณฑมาตรฐานของกรมชลประทาน และมาตรฐานควบคุมการระบาย
น้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม และตามประกาศ
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
ตอนที่ 3 ผลกระทบและการจัดการสิ่งแวดลอมดานเสียง
1. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดานเสียง
ผลกระทบดานเสียงที่เกิดจากโรงไฟฟาที่สําคัญ คือ เสียงที่เกิดจากหมอไอน้ํา
เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซ และพาหนะที่เขามาในพื้นที่โรงไฟฟา
2. การจัดการสิ่งแวดลอมดานเสียง
มีมาตรการควบคุมเสียงของโรงไฟฟาเพื่อไมใหสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ดังนี้
2.1 กิจกรรมที่กอใหเกิดเสียงรบกวนชุมชนในเวลากลางคืน ตองมีระดับเสียงไมเกิน
85 เดซิเบล ในระยะ 1 เมตรจากจุดกําเนิดเสียง ตามมาตรฐานขอกําหนดความดังของเสียง
จากโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อไมใหเปนที่รบกวนตอผูอยูอาศัยโดยรอบโรงไฟฟา
2.2 ติดตั้งอุปกรณควบคุมเสียงภายในโรงไฟฟาชวงเดินเครื่องผลิตไฟฟาและติดตั้ง
อุปกรณดูดซับเสียงแบบเคลื่อนที่ขณะทําความสะอาดทอที่เครื่องกังหันไอน้ํา เพื่อควบคุมความดัง
ของเสียงใหอยูในมาตรฐานไมเกิน 85 เดซิเบล
นอกจากนี้ โรงไฟฟาควรทําการตรวจวัดเสียงอยางสม่ําเสมอ โดยกําหนด
จุดตรวจวัดเสียงทั้งภายในโรงไฟฟา และชุมชนรอบโรงไฟฟาจํานวน 3 จุด และตรวจวัดตามแผน
ที่กําหนดไว เชน ตรวจครั้งละ 3 วันติดตอกันทุก 3 เดือน และทําการกอสรางแนวปองกันเสียง
โดยการปลูกตนไม (Noise Barrier) รอบพื้นที่โรงไฟฟา เปนตน
กิจกรรมทายเรื่องที่ 2 โรงไฟฟากับการจัดการดานสิ่งแวดลอม
(ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมเรื่องที่ 2 ที่สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู)