Page 39 - history
P. 39

6. หลักฐานชั้นรองมีขอดีอยางไร
                             ก.  หางายเพราะมีการสรางขึ้นเปนจํานวนมาก
                             ข.  เขาใจงายและใชเปนขอมูลในการศึกษาหลักฐานชั้นตน
                             ค.  มีความนาเชื่อถือเพราะผานการศึกษาวิเคราะหมาแลว
                             ง.  มีเน�้อหาที่สมบูรณเน��องจากไดรวบรวมขอมูลจากหลักฐานหลายชิ้น
                            7. เหตุใดการตีความขอมูลจากหลักฐานชิ้นเดียวกันจึงแตกตางกัน
                             ก.  ตีความในเวลาที่ตางกัน
                             ข.  ใชขอมูลในการตีความที่ตางกัน
                             ค.  ความคิดเห็นของผูตีความตางกัน
                             ง.  การตีความขอมูลแตละสวนใชวิธีการที่ตางกัน
                            8. การวิเคราะหเปรียบเทียบหลักฐานชิ้นหนึ�งกับหลักฐานชิ้นอื่นมีประโยชนอยางไร
                             ก.  เพื่อพิจารณาความนาเชื่อถือของหลักฐาน
                             ข.  เพื่อพิจารณาวาเปนหลักฐานปลอมหรือไม
                             ค.  เพื่อพิจารณาวาหลักฐานใดคือหลักฐานชั้นตน
                       ฉบับ
                      เฉลย    ง.  เพื่อจัดหมวดหมูหลักฐานที่สอดคลองกันเขาไวดวยกัน
                            9. เราควรพิจารณาความนาเชื่อถือของหลักฐานจากสิ�งใด
                             ก.  จํานวนหลักฐานที่พบ
                             ข.  ขอมูลที่ปรากฏในหลักฐาน
                             ค.  ความสมบูรณของหลักฐาน
                             ง.  ความนาเชื่อถือของผูสรางหลักฐาน
                           10. เพราะเหตุใดนักประวัติศาสตรมักตีความขอมูลจากหลักฐานชิ้นเดียวกันแตกตางกัน
         ฉบับ
        เฉลย                 ก.  มีความเชื่อตางกัน
                             ข.  มีความสนใจตางกัน
                             ค.  มีจุดประสงคที่ตางกัน
                             ง.  มีความรูความสามารถตางกัน
                           11. ขอมูลใดเปนประโยชนตอการประเมินคุณคาของหลักฐานมากที่สุด
                             ก.  ทราบวาพบหลักฐานที่ไหน
                             ข.  ทราบวาไดหลักฐานมาอยางไร
                             ค.  ทราบวาผูสรางหลักฐานคือใคร
                             ง.  ทราบวาผูสรางหลักฐานสรางเมื่อไหร
               6.  ตอบ  ข.  ขอดีของหลักฐานชั้นรอง คือ เขาใจงาย เพราะมีการถอดความมาเปนภาษาที่ใชในปจจุบัน และยัง
                                                       28
                            มีประโยชนในการอางอิงถึงหลักฐานชั้นตน ซึ่งสะดวกตอการศึกษาหลักฐานชั้นตนตอไป
               7.  ตอบ  ค. สิ่งสําคัญที่ทําใหการตีความขอมูลเดียวกันแตกตางกัน คือ ความคิดเห็นของผูตีความ ทั้งนี้ มาจาก
                            พื้นฐานความรู ประสบการณ และจุดประสงคในการตีความของผูตีความที่แตกตางกัน
               8.  ตอบ  ก. การนําหลักฐานมาเปรียบเทียบขอมูลกันเพื่อหาความสอดคลองและความแตกตางกันของหลักฐาน
                            ซึ่งหลักฐานที่ใหขอมูลสอดคลองกับหลักฐานอื่นยอมมีความนาเชื่อถือมาก
               9.  ตอบ  ข.  ความนาเชื่อถือของหลักฐานอยูที่ขอมูลที่ปรากฏในหลักฐาน ซึ่งเปนสวนที่จะตองใชเหตุผลและ
                            ขอมูลจากหลักฐานอื่นมาประกอบในการพิจารณาความนาเชื่อถือ
               10.  ตอบ  ง. ความรูความสามารถตางกัน ทําใหนักประวัติศาสตรตีความขอมูลจากหลักฐานชิ้นเดียวกันแตกตางกัน
               11.  ตอบ  ค. การทราบวาผูสรางหลักฐานคือใคร สรางเพื่อจุดประสงคอะไร สรางขึ้นในชวงเวลาใด สรางขึ้น
                            ที่ไหน จะชวยในการพิจารณาไดวาหลักฐานนั้นเปนของจริงหรือของปลอมและนาเชื่อถือหรือไม




                                                      28
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44