Page 12 - Economics2 032 Sahathat Bikkhunthot
P. 12

วิชาเศรษฐศาสตร์ ม.3

                       กลไกราคาจะพบได้ในทุกตลาด ยกเว้น ตลาดแบบผูกขาด เพราะกลไกราคาจะเกิดได้เฉพาะตลาดที่มีการ

               ด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลักษณะของตลาดเสรีหรือประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม

               หรือระบบเศรษฐกิจแบบผสมเท่านั้น โดยระบบเศรษฐกิจเหล่านี้จะมีกลไกราคาเป็นตัวก าหนดว่าจะผลิตสินค้า

               ปริมาณเท่าใดและราคาเท่าใด

               การก าหนดราคาสินค้าและบริการในทางเศรษฐกิจ ก าหนดไว้ 2 วิธี คือ


                       1.ให้กลไกราคาเป็นเครื่องมือในการก าหนดราคาสินค้าและบริการ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามแรงผลักดัน

               ของอุปสงค์แลอุปทาน


                       2. รัฐบาลก าหนดราคาสินค้าและบริการด้วยการควบคุมและแทรกแซงราคาสินค้าและบริการด้วยวิธี

               ก าหนดราคาเมื่อสินค้าที่จ าเป็นขาดตลาด เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค , การประกันราคาขั้นต่ าเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิต ,

               การพยุงราคาสินค้าไม่ให้ตกต่ ามากเกินไป เพื่อช่วยเหลือผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่ให้ขาดทุนดุลยภาพ กลไกราคาท างาน
               โดยได้รับอิทธิพลจากทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค ซึ่งเราจะสังเกตเห็นได้ว่า ณ เวลาใด เวลาหนึ่ง ถ้าปริมาณความ

               ต้องการหรือปริมาณอุปสงค์ต่อสินค้าในตลาดมีมากเกินกว่าปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตจะยินดีขายให้ ราคาสินค้าก็มี

               แนวโน้มที่จะปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากการขาดแคลนของสินค้า แต่ถ้าปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตประสงค์จะขายให้

               ผู้บริโภค หรือปริมาณอุปทานของสินค้ามีมากกว่าปริมาณสินค้าที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อ ราคาสินค้านั้นก็จะมี

               แนวโน้มลดต่ าลง เมื่อปริมาณอุปสงค์และปริมาณอุปทานเท่ากัน ราคาสินค้าจึงจะอยู่นิ่ง หรือที่เรียกว่า มี
               เสถียรภาพไม่ปรับขึ้นลงอีก ยกเว้นว่า จะมีปัจจัยอื่นๆที่ท าให้ตลาดต้องเปลี่ยนแปลงไป


                                                                        ที่มา : http://socialteacherwp.blogspot.com/


                                                         หน้าที่ของรัฐ


               หน้าที่ของรัฐภายในประเทศ

                       ภาระหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลที่จะปฏิบัติจัดท าภายในประเทศในปัจจุบันนี้เพิ่มมากขึ้นตามล าดับเพราะว่า

               รัฐทุกรัฐหรือประเทศในโลกนี้จ านวนประชากรของแต่ละประเ ทศมีเพิ่มมากขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ในขณะเดียวกัน

               อาหารและทรัพยากรที่มนุษย์จะน ามาเป็นเครื่องอุปโภค บริโภคนั้นลดน้อยลงหรือมีจ านวนอัตราเพิ่มไม่สมดุลกับ

               จ านวนเพิ่มขึ้นของมนุษย์ “มัลทัส กล่าวว่า ประชากรเพิ่มขึ้นตามอัตราเรขาคณิต (Geometric Progression) หรือ

               อัตราทวีคูณ คือ 1, 2, 4, 8, 16,…….. ขณะที่อาหารเพิ่มขึ้นตามอัตราเลขคณิต (Arithmetic Progression) หรือ

               อัตราบวก 1, 2, 3, 4, 5,….. เมื่อเป็นเช่นนี้ภายในเวลาอัตราส่วนระหว่างประชากรกับอาหารจะสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ
               แต่เท่าที่ผ่านมามีสิ่งขวางกั้น (Check) ไม่ให้ประชากรเพิ่มมากเกินปริมาณอาหาร สิ่งขวางกั้นที่ว่านั้น คือ Positive
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17